NIDA Wisdom Repository

 

Communities in DSpace

Select a community to browse its collections.

Now showing 1 - 6 of 6
Thumbnail Image

คณะและวิทยาลัย

NIDA Schools and Colleges

Thumbnail Image

สำนักงานอธิการบดี

NIDA Office of the President

Thumbnail Image

ผลงานวิชาการ

NIDA Scholars

Thumbnail Image

หน่วยงาน

NIDA Units

Thumbnail Image

วารสารวิชาการ

NIDA Academic Journals

Thumbnail Image

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

NIDA E-Books

Recent Submissions

Thumbnail Image
Item
Relationships between psychological factors, innovative performance, marketing capability, and entrepreneurial success among Thai fruit and vegetable processing and preservation SMEs in Thailand
Natthawat Wiwatkitbhuwadol; Arnond Sakworawich (National Institute of Development Administration, 2019)
An entrepreneur starts and runs a business through the pursuit of opportunities with the determination to use his/her knowledge, abilities, and experiences to effectively run his/her organization and with the resources at hand. He/she is a creative person who finds new approaches to market existing merchandise or better ways to improve and develop existing production processes to maximize the organization’s benefits. He/she is willing to undertake a business venture in exchange for profits and satisfaction. These are the characteristics of a potentially successful entrepreneur. Entrepreneurial success is the primary goal of every entrepreneur, in the pursuit of which he/she must endure different kinds of problems to achieve this goal, and there are many ways to measure business success. The aim of this study is to analyze the relationships between the psychological factors, innovative performance, marketing capability, and entrepreneurial success among Thai Fruits and Vegetables Processing and Preservation SMEs in Thailand. This is one of the first empirical studies to adopt the Giessen-Amsterdam Model of Entrepreneurial Success as the main research model with some added variables that may affect entrepreneurial success identified from a literature review. Another research interest is the impact of the rising number of Thai Fruit and Vegetable Processing and Preservation SMEs entrepreneurs on global businesses due to increased quantities of imitation goods and services. The results of the study show that innovative performance, and marketing capability are highly related to entrepreneurial success. The developed strategies using innovative performance, and marketing capability drivers could help Thailand’s SMEs entrepreneurs to be successful in a variety of industries.
Thumbnail Image
Item
Closed-loop supply chain model analysis
Jariya Seksan; Kannapha Amaruchkul (National Institute of Development Administration, 2019)
In this dissertation, we analyzed the closed-loop supply chain with buyback contract. We considered the model with one manufacturer and one retailer. First, we derived the optimal order quantity, the optimal contract parameter and consider the condition that buyback contract can coordinate supply chain. Next, we extended the first part by considering for the return policy. We considered when customers return follows the customer’s willingness to return function which depends on return price. We derived the optimal return price and the optimal order quantity follows that price. We found that the optimal return price depends on the buyback price offered by the manufacturer. Then, we considered when the retailer engages in secondary market. The retailer sells the returned product at discount price of the new product in the secondary market. We derived for the optimal resale unit and secondary product price. We found that the retailer can gain more profit when selling returned product in secondary market. In addition, we found that buyback contract can coordinate closedloop supply chain. Using numerical results, some of the relationships between parameters and the expected profits were shown. The results showed that when the wholesale price increases, the order quantity and retailer’s expected profit decrease, but the manufacturer’s expected profit increases. Besides, when the buyback price increases, the order quantity and the retailer’s expected profit increase, but manufacturer’s expected profit decreases. The results also show that the return price 𝑟 and the buyback contract parameters (𝑤, 𝑏) affect the performances of closed-loop supply chain and both manufacturer and retailer receive more profit when the retailer sets the optimal return price. Finally, we present the special topic of using buyback contract in closed-loop supply chain to achieve sustainability: case of electrical and electronic equipment (EEE) and show that supply chain sustainability can be achieved through a buyback contract.
Thumbnail Image
Item
Community-based strategic environmental assessment for Mae Suai Basin management plan in response to emergency caused by Mae Suai Dam failure
Chayathat Niamsawaeng; Chamlong Poboon (National Institute of Development Administration, 2019)
This research aimed to study and find out the ways for community-based disaster risk management from flash flood caused by failure of Mae Suai Dam located in Chaingrai Province. This study adopted the qualitative approaches of action research including group interview, in-depth interview focus group discussion and workshop with 60 key informants from 6 Mae Suai communities consisting of local leaders, local wisdoms, community committees, and leaders of community organizations. The data were collected for 2 years (2014-2016) and analyzed by content analysis. The results showed that there were 3 stages of flash flood disaster risk management: 1) preparedness before disaster event, 2) encountering disaster event and 3) revival after disaster event. Preparedness comprised housing management and community organization, water resource management, databased of disaster risk group development and warning system development. Encountering disaster included the determination of migration routes, safety areas and shelter areas. Moreover, crisis communication procedures, coordination of assistance from agencies in the neighborhood for example Chiang Rai Disaster Prevention and Mitigation Office, Mae Suai Hospital, 37th Army District and mass media were determined. Finally, the revival after the disaster focused on rehabilitation of agricultural area and restoration of houses by skilled local people
Thumbnail Image
Item
Collaboration among government, the private sector, and civil society in the southernmost provinces of Thailand
Siriluk Khumphiranont; Anchana Na Ranong (National Institute of Development Administration, 2019)
This research had the objective to study collaboration and the factors which facilitate collaboration between the government, private sector, and civil society in southern border provinces of Thailand. This research also examined problems and obstacles to interagency collaboration across multiple dimensions. Finally, the researcher synthesized the information to develop a proposed model for effective collaboration between government, the private sector, and civil society in the southern border provinces. Data were collected using qualitative methods, such as focus group discussions and in-depth interviews with a sample of 48 key informants, including managers and staff of agencies in the three sectors of interest. The focus was on personnel who had responsibility for inter-agency collaboration. The dimensions of collaboration include the economic sphere, education, justice/security, community/society/culture, and rehabilitation and promotion of quality of life for persons adversely affected by the unrest in the sub-region. Primary data were processed using content analysis, and the results were linked with relevant theory and concepts from the literature. This study of collaboration between the government, private sector, and civil society in the southern border provinces identified different types of cooperation. In the government, there are collaborative partners, networks, and cooperative governance. In the private sector, there are bilateral partners, networks, and arrangements in which the private sector entity is considered a joint owner of the project. Civil society groups usually are part of a network with which the government may have established a working mechanism (Collaborative Governance) and network collaboration (Collaborative Network). This research has identified four principal types of collaborative management: 1) JurisdictionBased Management Model; 2) Top-Down Model; 3) Cooperative and Recipient Management Model (i.e., Donor-Recipient Model); and 4) Reactive Management Model (Reactive Model). As for the structure of the government, most agencies have not created a special unit to manage collaboration with other agencies or sectors. However, if there is a special issue linked to the resolution of unrest in the subregion, an ad hoc unit may be set up for collaboration, including the creation of working mechanisms through various committees. Neither the private sector nor civil society organizations have dedicated units to promote collaboration. However, civil society may take a more proactive approach to support requests for coordination to assist with negotiations with interest groups and advocacy of certain issues. Mechanisms for government collaboration include both formal (i.e., MOUs) and non-formal agreements. The private sector and civil society do not emphasize the importance of having an MOU, but if they do enter into an MOU, that will help build confidence for cooperation. There are both horizontal and vertical collaborative activities. This research was able to identify factors that facilitate cooperation between the government, private sector and civil society in the southern border provinces of Thailand. Starting from the strongest, these factors include the following: Expectation of mutual benefit, mutual agreement, common goals, and information sharing. The factors which obstruct or impede collaboration include (deficiencies in) the following: Resources and management processes, organizational culture and relations between organizations, the structure and mechanism of work, coordination and communication, competency of personnel in the organization, and organizational environment. The synthesis of facilitating and impeding factors was conducted to produce a proposed model which the government can apply to improve prospects for effective collaboration with the private sector and civil society in the southern border provinces of Thailand. The model consists of the following components: 1) Having common goals; 2) Having mutual benefit; 3) Having mutual agreements; 4) Sharing information; 5) Having a supportive structure and mechanism for coordination and communication; 6) Ensuring effective management resources and processes; 7) Promoting a favorable organizational culture and relationships between organizations; 8) Building competency of personnel in the organization; and 9) Creating a favorable organizational environment.
Thumbnail Image
Item
Collaborations in emergency management of the 2011 great flood in Bangkok metropolitan region
Singhanat Rajbhandharak; Anchana Na Ranong (National Institute of Development Administration, 2019)
One of the most debated issues during large scale disaster around the world is how to collaborate the multi-sectors relevant to emergency management to join one mission. The study aimed to explore the contextual and process factors that are associated with implementing inter-organizational collaborative management among multi-sectors; Public organization, Private organization, Government organization and Non-Governmental Organization (P-P-G-N). Collaborative arrangements among all P-P-G-N network are found to be complex, difficult to implement, and liable to failure when not fully explored and recognized. A variety of Qualitative Research methods for collecting data is used to validate and triangulate the data. While participants for interviews would be carefully considered to create diversified proportion among all those three main levels of organizational hierarchy; Strategic level, Tactical level, and Operation level. The framework is developed and validated through multidisciplinary literature synthesis,and the main fieldwork which applies qualitative methods based on multiple group studies from various sectors in the 2011 great flood in Bangkok Metropolitan Region (BMR).The Findings of this dissertation was primarily to provide a comprehensive framework for collaborations in crisis and emergency management in Thailand. Findings reveal that Successful collaborations in Emergency Management depends on five themes; 1) Disaster Planning and Management Capacity building for large scale disaster, 2) Integrated mass communication in large scale disaster, 3) Integrated flood mitigation measures, 4) Integrated response and relief and 5) Emergency management governance and legislation Such a framework will serve as a guideline for all spheres of sectors at all level in order to implement emergency management during crisis or large scale disaster in an effective and efficient manner. It also can help public policy-makers, public managers, academics, and collaborating organizations in identifying the inhibitive, supportive prerequisites, and in general influencing contextual factors. Eventually the unmeasurable damage can be reduced. The concept of this study can be called “Collaborations in Emergency Management (CbEM)" which would help the relevant organization to turn tragic into victory when large scale disaster strike in the future
Thumbnail Image
Item
People's participation in public policy process : a case study of participation in ordinance making of local administrative organizations in Suphanburi, Thailand
Tanasarn Chongpanish; Achakorn Wongpreedee (National Institute of Development Administration, 2019)
This study aimed: 1) to study the development of local administration in Suphanburi, Thailand, emphasizing people’s participation in policy-making process,i.e. local ordinance; 2) to study and identify the obstacles regarding local ordinances by people’s initiatives in the local administration organizations in Suphanburi; and 3) to provide solutions and policy recommendations for people’s participation in the local administration in the case of local ordinances by people’s initiative in Suphanburi and the entire country of Thailand. The research questions are: 1) How does the development of local administration in Suphanburi emphasize people’s participation in the policy-making process and ordinance creation?; 2) Why have the local ordinances by people’s initiatives in Suphanburi never been enforced, and what are the obstacles?; and 3) What are the solutions regarding people’s participation in the local administration in the case of local ordinances by people’s initiative in Suphanburi and for Thailand overall? This study used qualitative research methods. The data obtained were of two types of data; primary data were from field survey, in-depth interviews, and focus group interviews; secondary data were from related documents, ordinances, research, and academic articles. The key informants were the government officers responsible for supervising local administrative organizations, executives in the local administrative organizations, community leaders, and law experts The results of this research provide solutions regarding the problems surrounding people’s participation local administrations, policy recommendations, and recommendations for future research. The three main research questions were asked in order to ascertain the obstacles to the people’s participation in local ordinance creation in Suphanburi. The research results revealed that the total of participation rate in Suphanburi was at a medium to low level. Although the local administrative organizations encourage the people to participate in public hearings, the results turned out to be not attractive. The main obstacle concerned the socio-economic problems, i.e. level of education, poverty, and local ways of life. The second obstacle involved the laws, rules, and regulations related to the local administrations. The third obstacle was the local political culture of Suphanburi. Therefore, the results confirmed the hypotheses that the three obstacles were the main problems concerning the people’s participation in the creation of the local ordinances in Suphanburi. The research results showed that the model of people’s participation in the creation of the local ordinances introduced by the western countries could not be applied to the locals in Suphanburi. The bureaucrats that are working closely with the people are not proactive enough to encourage the participation rate. At the same time, the local people were bored, inactive, and did not see the importance of participation in their local ordinance creation process. At the end of this research, the researcher made two levels of policy recommendations: government policy recommendations and local administrative organization recommendations. The increase of people’s participation in local ordinance creation must be carried out by the people themselves with the full of support from the government. The government should launch policy to lift up the people’s quality of life, education, and opportunity for making a living, and meanwhile the local people should acknowledge their rights and duties of citizenship; they should be responsible for their local hometown and not just wait for government support.
Thumbnail Image
Item
Environmental cost of hydropower development case study : Xaiyaburi Hydropower Dam, LAO PDR.
Phongphat Phanthavong; Adis Israngkura (National Institute of Development Administration, 2019)
The controversial impacts of hydropower development are still debatable, especially when dams are constructed in the mainstream of multinational rivers. This study examines the impacts of the Xaiyaburi hydropower project constructed in the mainstream of the Mekong River in Bolikhamxay province, Lao PDR. Results from our Cost and Benefit Analysis indicated that the Xaiyaburi Dam is financially feasible with a positive financial net present value (FNPV) of $5,797,169,153 in its lifetime. In addition, this project is expected to earn an 8.26% financial internal rate of return (FIRR) per year; $1 spent as an investment in this project is expected to generate financially $2.18 in return. However, only the result from the financial cost and benefit analysis (FCBA) might not be enough to fully understand the impacts of hydropower development. We, therefore, extended the CBA analysis into broader issues by including the opportunity cost related to environmental impacts caused by the project into consideration. The opportunity cost considered in this study consisted of 2 categories, Used and Non-Used Value. While the Used Value is measured by the opportunity cost related to land loss, fish stock reduction and CO2 emission, NonUsed Value is measured by opportunity cost related to the local peoples’ willingness to pay (WTP) for environmental attributes improvement. Similar to the FCBA, we found economic feasibility for the project. It is estimated to yield an economic net present value (ENPV) of $545,113,968 in its lifetime, and $1 spent as an investment in this project is expected to generate only $1.05 in return. However, when considering the economic IRR value, we found infeasible growth of the project (0.96% of economic IRR). Moreover, the project NPV is highly sensitive to the change of revenue (1% reduction in revenue is expected to decrease the value of the ENPV by 19.60%) and the change of the Carbon tax (1% reduction in revenue is expected to decrease the value of the ENPV by 5.06%) respectively. Results of this study provided us with useful quantitative information for the government of Laos and other countries along the Lower Mekong Basin (LMB) to assist in decision making on the hydropower production plan, especially, to a project that will be constructed in the mainstream of a multinational river to ensure the implementation of an environmentally friendly hydropower program.
Thumbnail Image
Item
ความขัดแย้งจากการพัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัย: กรณีศึกษาโครงการ วอเตอร์ฟรอนท์ พัทยา ไทยแลนด์
นุชนา สกุลสถาพร; จุฑารัตน์ ชมพันธุ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
ในปัจจุบันเมืองพัทยามีการพัฒนาคอนโดมิเนียมตามแนวชายหาดพัทยาอย่างกระจัดกระจายตั้งแต่พัทยาเหนือจรดพัทยาใต้อย่างไรก็ตามการพัฒนาดังกล่าวมีทั้งผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบสําหรบผลกระทบทางลบหากไม่ไดรับการแก้ไขหรือเยียวยาจะนํามาซึ่งความขัดแย้ง ดังเช่นกรณีความขัดแย้งจากการพัฒนาโครงการวอเตอร์ฟร้อนท์พัทยาไทยแลนด์กับคนเมืองพัทยาดังนั้น การวจิยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาของความขัดแย้งสาเหตุของความขัดแย้งจากการพัฒนาโครงการวอเตอร์ฟร้อนท์พัทยาไทยแลนด์และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างประชาชนโดยรอบผู้พัฒนาโครงการกับหน่วยงานของรัฐโดยเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมกบการทบทวนวรรณกรรมผลการศึกษาพบว่าสาเหตุความขัดแย้งตามวงกลมแห่งความขัดแย้งได้แก่ความเชื่อต่อกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ระหว่างประชาชนในพื้นที่กับผู้พัฒนา โครงการและประชาชนยังไม่เชื่อมั่นในขั้นตอนการขออนุญาตก่อสร้างและขั้นตอนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมประชาชนผู้อาศัยโดยรอบยังขาดการรับรู้ข้อมูลโครงการจากผู้พัฒนาโครงการและหน่วยงานภาครัฐเมื่อความขัดแย้งไม่ได้รับการแก้ไขผู้พัฒนาจึงไม่สามารถดําเนินการโครงการต่อไปได้นําไปสู่ความขัดแย้งระหว่างผู้พัฒนาโครงการและหน่วยงานรัฐจากการเสียผลประโยชน์ทางธุรกิจส่วนเสนอแนวทางการแก้ไขความขัดแย้งนั้นพบว่าหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานท้องถิ่นควรร่วมกันหาข้อเท็จจริงชี้แจงและไกล่เกลี่ยโดยคนกลางรวมทั้งผู้พัฒนาโครงการจะต้องดำเนินการตามกฎหมายและมาตรการทางสิ่งแวดล้อมอย่างเครงครัด
Thumbnail Image
Item
ผลกระทบจากแคดเมียมที่มีผลต่อสมรรถภาพการผลิตของถั่วเหลือง รุ่น f2
พัชริดา ตริยาสุข; ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การศึกษาผลกระทบจากแคดเมียมที่มีผลต่อสมรรถภาพการผลิตของถั่วเหลืองรุ่น f2 โดย การปลูกถั่วเหลืองพันธุ์เชียงใหม่ 60 เพื่อศึกษาสมรรถภาพการเจริญเติบโต ลักษณะภายนอก และการให้ผลผลิตของถั่วเหลืองพันธุ์เชียงใหม่60 รุ่น f1 ในดินที่มีความเข้มข้นของแคดเมียมในการปลูกแตกต่างกัน และรุ่น f2 ที่น ามาปลูกต่อในดินที่ไม่ผสมแคดเมียม เพื่อทราบปริมาณการปนเปื้อนสูงสุดของแคดเมียมในดินที่สามารถนำมาใช้ในการปลูกถั่วเหลืองเพื่อการขยายพันธุ์(f1) ทำการวิจัยเชิงทดลองโดยการน าถั่วเหลือง รุ่น f1 ปลูกในกระถางบรรจุดินน้ำหนัก 4.50กิโลกรัม ปริมาณความเข้มข้นของแคดเมียมไนเตรทในดินที่แตกต่างกัน คือ 0, 20.0, 40.0, 60.0, 80.0 และ 100 พีพีเอ็ม จำนวนความเข้มข้นละ 40 ซ้ำ วางแผนแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) จากนั้นนำเมล็ดพันธุ์ที่ได้ไปปลูกต่อจนได้ถั่วเหลืองเชียงใหม่ 60รุ่น f2 ผลการศึกษา แสดงให้เห็นว่า ปริมาณแคดเมียมในดินส่งผลเสียต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโต การให้ผลผลิต และคุณค่าทางโภชนะด้านโปรตีนและไขมันของถั่วเหลือง ทั้งรุ่น f1 และ f2 อย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05)
Thumbnail Image
Item
แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในจังหวัดปทุมธานี
เสาวลักษณ์ ศักดิ์สิทธิ์; จุฑารัตน์ ชมพันธุ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การศึกษาคร้ังนี้เป็นงานวิจยัเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์และปัญหา ด้านขยะมูลฝอยชุมชนในจังหวัดปทุมธานี วิเคราะห์การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในจังหวัดปทุมธานีและเสนอแนะแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในจังหวัดปทุมธานี โดยการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างกับผู้มีส่วนได้เสียจากการจัดการมูลฝอยชุมชนของปทุมธานีร่วมกับการสังเกตุการณ์อย่างมีส่วนร่วมและการทบทวนวรรณกรรม และใช้เทคนิคการประเมินแบบ CIPP-I Model เป็นกรอบในการศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในจังหวัดปทุมธานีแล้วตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ด้านข้อมูล (Data Triangulation)จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่คุณภาพ และพิจารณาแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของจังหวัดปทุมธานี โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน และการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกขององค์กร (SWOT Analysis) และนำ SWOT Matrix มาดำเนินการประเมิน และวิเคราะห์ เพื่อจัดทำเป็นแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมของปทุมธานีต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันจังหวัดปทุมธานีมีนโยบายการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของจังหวัดปทุมธานีสอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐ และสามารถแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยตกค้างสะสมภายในจังหวัดได้สำเร็จ แต่ปัจจุบันยังไม่มีสถานที่กำจัดที่ถูกตอ้งตามหลักวิชาการภายในจังหวัด ทำให้ต้องขนส่งไปทิ้งที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นส่วนใหญ่ ส่วนโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าจากพลงังานขยะที่ตำบลเชียงรากใหญ่นั้น ยังไม่สำเร็จเพราะประชาชนคัดค้านและจากการวิเคราห์ SWOT พบว่า มีจุดแข็ง คือ หน่วยงานภาครัฐตอบรับนโยบายจากส่วนกลาง และหน่วยงานภาครัฐส่วนทอ้งถิ่นมีโครงการจดัการขยะมูลฝอยชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม จุดอ่อน คือ องค์การปกครองส่วนทอ้งถิ่น (อปท.) มีงบประมาณประจำปีในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนแต่ทำได้ช้าเพราะต้องรองบประมาณจากส่วนกลาง จังหวัด ปทุมธานีไม่มีสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ประชาชนปฏิเสธสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยหากอยในพื้นที่ชุมชนตนเองโครงการของภาครัฐยังเข้าถึงประชาชนไม่ครบถ้วน ด้านโอกาส คือ นโยบายภาครัฐในทุกระดับสอดคล้องกัน บริษัท เอกชนสนใจลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าจากพลงังานขยะ สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยเดิมในจังหวัดสามารถปรับปรุงและเปิดดำเนินการได้ มีพื้นที่เหมาะสมสำหรับสร้างสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยแห่งใหม่ มีปริมาณขยะมากเพียงพอสำหรับการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าจากพลังงานขยะ และประชาชนเข้มแข็ง มีความรู้ความเข้าใจ ต่อรองกับหน่วยงานรัฐได้ส่วนอุปสรรค คือ ประชาชนไม่เชื่อมั่นภาครัฐในการสร้างสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยในทุกรูปแบบ และมีประชากรแฝงมาก แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในจังหวัดปทุมธานี (TOWS Matrix) 4 กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์เชิงรุกได้แก่ให้หน่วยงานภาครัฐร่วมมือกับเอกชนในโครงการพัฒนาสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยในจังหวัด กลยุทธ์เชิงป้องกัน ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐส่วนท้องถิ่นต้องเข้าถึงประชาชนทั้งในด้านความสัมพันธ์และการให้ข้อมูลข่าวสารกลยุทธ์เชิงแก้ไข ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนภาคเอกชนในการลงทุนด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในปทุมธานี ของบประมาณจากส่วนกลางเพิ่มเพื่อปรับปรุงสถานที่กำจัดขยะเดิมให้ถูกต้องตามหลักวิชาการและสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนกับประชาชนทุกระดับ กลยุทธ์เชิงรับ ได้แก่กำหนดกฎระเบียบว่าด้วยแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยตั้งงแต่ต้นทางและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบอย่างทั่วถึง รวมถึงให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในจังหวัดปทุมธานี
Thumbnail Image
Item
ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนนายเรือ
ธวัลพร มะรินทร์; ดาวิษา ศรีธัญรัตน์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนนายเรือทั้งปัจจัยส่วนตัวนักเรียนและปัจจัยทางการศึกษา เพื่อให้ทราบปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนนายเรือ ทั้งในด้านเกรดที่ศึกษาและด้านภาวะผู้นําโดยทั้ง 2 ด้านนี้มีความสําคัญอย่างยิ่งต่อนักเรียนนายเรือ เนื่องจากเป็ นการพัฒนาและปูพื้นฐานให้นักเรียนนายเรือทุกนายมีความรู้ คู่คุณธรรม เพื่อเป็ นกองกาลังที่เข้มแข็งของประเทศชาติและพัฒนา ํประเทศต่อไป โดยการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนนายเรือ ในครั้งนี้ เก็บข้อมูลจากนักเรียนนายเรือที่ศึกษาประจําปี การศึกษา 2558 ตั้งแต่ชั้นปี ที่ 2ถึงชั้นปี ที่ 5จํานวน 282 นาย ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนนายเรือด้านเกรดเฉลี่ย คือ เกรดเฉลี่ยสะสมจากโรงเรียนเตรียมทหาร แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ในการเรียน และปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนนายเรือด้านภาวะผู้นํา คือ เจตคติของการเรียน และแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ในการเรียนผลการศึกษาบ่งชี้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนนายเรือได้รับอิทธิพลจากปัจจัยด้านตัวนักเรียน ทั้งปัจจัยภายนอก (เกรดเฉลี่ยสะสมจากโรงเรียนเตรียมทหาร) และปัจจัยภายใน(เจตคติของการเรี ยน และแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์) แต่กลับพบว่าปัจจัยด้านการจัดการศึกษา(ประกอบด้วย เนื้อหาหลักสูตร ครูผู้สอน เพื่อนร่วมชั้นเรียน และสิ่งอํานวยความสะดวก) ไม่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนนายเรือ ด้วยเหตุนี้เองเพื่อส่งเสริมคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักเรียนนายเรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรส่งเสริมปัจจัยด้านตัวนักเรียนนายเรือเอง เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของนักเรียนนายเรือให้เป็ นทรัพยากรของกองทัพเรือที่เข้มแข็งและปกครองประเทศต่อไป คําสําคัญ: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาวะผู้นํา นักเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรือ
Thumbnail Image
Item
การสร้างกรอบการประเมินและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ
สุจริต พลแก้ว; ดาวิษา ศรีธัญรัตน์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุองค์ประกอบของกรอบการประเมินผล เพื่อพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือที่ไม่เพียงมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ของการดำเนินการ แต่ยังมุ่งเน้นกระบวนการดำเนินการ เพื่อนำไปสู่การนำเสนอกระบวนการประเมิน และพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียนพลาธิการ กรมพลาธิการทหารเรือ การวิจัยคร้ังนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจ ระเบียบวิธีวิจัยแบบเดลฟายเทคนิค เป็นวิธีที่ใช้เพื่อหาแนวทางหรือข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสายการประเมินคุณภาพการศึกษา โดยมีขั้นตอนในการสรุปถึงความคิดเห็นของกลุ่มผูเ้ชี่ยวชาญ (นพวรรษ การะเกตุ, 2552: 24) จำนวน 21 ท่าน ผลการศึกษาทำให้ทราบองค์ประกอบของกรอบการประเมินที่เหมาะสมกับบริบทความเป็นทหาร แบ่งได้ 4 องค์ประกอบ คือ 1) ด้านผู้เรียน เช่น ผู้เรียนมีความสามารถตามหลักสูตร มีคุณลักษณะทางทหาร 2) ด้านคุณภาพครูเช่น ครูมีความรู้ความสามารถตรงตามคุณสมบัติ 3) หลักสูตรการเรียน เช่น กระบวนการจัดการเรียนการสอน และ 4) องค์ประกอบอื่นๆ เช่น การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะวัฒนธรรม และประเพณีทางทหารข้อจำกัดในงานวจิยั คือ 1) งานวจิยนี้เลือกกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาแบบเฉพาะเจาะจง ทำให้การนำผลการศึกษาไปใช้ในวงกว้างจึงเป็นไปอย่างมีข้อจำกัดและด้วยเป็นงานเชิงคุณภาพจึงไม่สามารถหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันระหว่างตัวแปรได้ข้อเสนอแนะในงานวิจัยนี้คือโรงเรียนพลาธิการกรมพลาธิการทหารเรือควรให้ความสำคัญ ในการสร้างกรอบการประเมินและพัฒนาการเรียน การสอนนักเรียน เพื่อให้มีองค์ประกอบของกรอบการประเมินไปใช้พัฒนาได้ตรงความต้องการของโรงเรียนพลาธิการและกรมพลาธิการทหารเรืออย่างแท้จริง และสำหรับข้อเสนอแนะงานวิจัยในอนาคต เนื่องด้วยกรอบการประเมินในงานวิจัยนี้ถือเป็นการสร้างคร้ังแรกงานวิจยัต่อไปควรทำการพัฒนาต่อยอดกรอบการประเมินในด้านการทหารให้มากขึ้น รวมถึงควรมีเรื่องของค่านิยมหรือความเป็นทหารอาชีพอีกด้วย
Thumbnail Image
Item
คู่มือการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศของสำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
กนกวรรณ จันทร (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018-12-16)
คู่มือเล่มนี้มุ่งเน้นกระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และวิธีการปฏิบัติงานการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศด้วยระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน กับระบบห้องสมุดกำหนดขึ้นใช้เอง ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข และพัฒนาการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศของสำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Thumbnail Image
Item
ความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุนที่มีต่อภาพลักษณ์สำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
กนกวรรณ จันทร (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018-12-08)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุนที่มีต่อภาพลักษณ์สำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ การวิจัยนี้มุ่งศึกษาบุคลากรสายสนับสนุนของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ในทุกตำแหน่งงานจากคณะ/สำนักต่าง ๆ รวม 24 หน่วยงาน จำนวนทั้งสิ้น 520 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) โดยหาค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมาน (Inferential Statistics) เพื่อทำการทดลองสมมติฐาน ได้แก่ การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ย 2 กลุ่ม ด้วยค่าที (t-test) การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) ผลการศึกษาวิจัย พบว่า 1. บุคลากรสายสนับสนุนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 24-38 ปี สถานภาพสมรส มีการศึกษาระดับปริญญาโท เป็นพนักงานสถาบัน อยู่ในตำแหน่งงานระดับปฏิบัติการ มีประสบการณ์การทำงานในสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 10-20 ปี ได้รับเงินเดือน 20,001-25,000 บาท และหน่วยงานที่สังกัด คือ กองกลาง 2. ความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุนที่มีต่อภาพลักษณ์สำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ในภาพรวม จำนวน 5 ด้าน บุคลากรสายสนับสนุนมีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์อยู่ในระดับดีมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ภาพลักษณ์ด้านสถานที่ และด้านการบริการห้องสมุด อยู่ในระดับดีมากที่สุด และภาพลักษณ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทรัพยากรสารสนเทศ และด้านบุคลากร อยู่ในระดับดีมาก 3. ความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุนที่มีต่อภาพลักษณ์สำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ในประเด็นตามรายเรื่อง จำนวน 20 เรื่อง บุคลากรสายสนับสนุนมีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์อยู่ในระดับดีมากที่สุด จำนวน 8 เรื่อง ตามลำดับดังนี้ 1) เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ออกแบบและตกแต่งอาคารทันสมัย สวยงาม และสะอาด 2) เป็นแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะแก่การศึกษาดูงานและเยี่ยมชมของสถาบัน 3) เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ 4) เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จัดพื้นที่บริการเป็นสัดส่วนและเหมาะสม 5) เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ให้บริการเชิงรุก (เช่น Book Delivery & Return Service (BDRS) เป็นต้น 6) เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่ทันสมัย 7) เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ให้บริการหลากหลายช่องทางและเข้าถึงได้สะดวก เช่น โทรศัพท์ เว็บไซต์ อีเมล์ และตู้คืนหนังสือด้วยตนเอง เป็นต้น และ 8) เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายประเภท 4. บุคลากรสายสนับสนุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป เป็นผู้ที่มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ด้านการบริการห้องสมุด และภาพลักษณ์ด้านสถานที่สูงกว่ากลุ่มบุคลากรสายสนับสนุนที่มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี 5. บุคลากรสายสนับสนุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่มีประสบการณ์การทำงานในสถาบันไม่นาน (ไม่ถึง 10 ปี) เป็นผู้ที่มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ด้านการบริการห้องสมุด และภาพลักษณ์ด้านบุคลากรสูงกว่ากลุ่มบุคลากรสายสนับสนุนที่มีประสบการณ์การทำงานในสถาบันนาน (มากกว่า 10 ปีขึ้นไป) 6. บุคลากรสายสนับสนุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่สังกัดหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอนเป็นผู้ที่มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสูงกว่ากลุ่มบุคลากรสายสนับสนุนที่สังกัดหน่วยงานที่ไม่จัดการเรียนการสอน ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1. ความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุนที่มีต่อภาพลักษณ์สำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์โดยรวมระดับดีมาก และรายด้านในระดับดีมากที่สุด คือ ด้านการบริการห้องสมุด ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 2.บุคลากรสายสนับสนุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป เป็นผู้ที่มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ด้านการบริการห้องสมุดมากกว่าบุคลากรสายสนับสนุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3. บุคลากรสายสนับสนุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่มีประสบการณ์การทำงานในสถาบันไม่นาน (ไม่ถึง 10 ปี) เป็นผู้ที่มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ด้านการบริการห้องสมุดมากกว่าบุคลากรสายสนับสนุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่มีประสบการณ์การทำงานในสถาบันนาน (มากกว่า 10 ปีขึ้นไป) ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 4. บุคลากรสายสนับสนุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่สังกัดหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอนเป็นผู้ที่มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากกว่าบุคลากรสายสนับสนุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่สังกัดหน่วยงานที่ไม่จัดการเรียนการสอน ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
Thumbnail Image
Item
การปรับปรุงกระบวนการให้บริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือโดยการประยุกต์ใช้หลักการ ECRS+IT
กนกวรรณ จันทร (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2019-12-13)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักการ ECRS+IT มาปรับปรุงกระบวนการบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือ 2) เพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุงกระบวนการบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือโดยใช้หลักการ ECRS+IT และ 3) เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของการปรับปรุงกระบวนการบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ประชากรของการวิจัย คือ ชิ้นงานของการให้บริการจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือ ระหว่างปี พ.ศ. 2555-2561 ผลของการวิจัยพบว่า (1) การใช้หลักการ ECRS+IT และนำข้อคิดเห็นของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ มาปรับปรุงกระบวนการบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือ ทำให้สามารถลดขั้นตอนของกระบวนการลง 12 ขั้นตอน คิดเป็นร้อยละ 42.86 (2) ลดเวลาที่ใช้ในการทำงานของกระบวนการลง 156 นาที (2.60 ชั่วโมง) คิดเป็นร้อยละ 47.42 (3) ลดเวลารอคอยของกระบวนการลง 10 วัน คิดเป็นร้อยละ 83.33 (4) ลดทรัพยากร ด้านคนลง 1 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ลดทรัพยากร ด้านกระดาษลง 18.70 แผ่น คิดเป็นร้อยละ 68.25 และ (5) ลดความผิดพลาดของชิ้นงานให้เป็นศูนย์ คิดเป็นร้อยละ 100 และผลของการวิจัยนี้ เป็นประโยชน์ทั้งต่อผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการของสำนักบรรณสารการพัฒนา กล่าวคือ ผู้ใช้บริการจะได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว ได้รับชิ้นงานที่มีความถูกต้องสมบูรณ์ และได้ทราบถึงข้อมูลขั้นตอนการขอใช้บริการและรายละเอียดข้อมูลที่ต้องการใช้ประกอบการขอใช้บริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือที่ชัดเจนขึ้นผ่านเว็บไซต์ห้องสมุด สำหรับผู้ให้บริการมีความคล่องตัวในการให้บริการที่มากขึ้น และมีการใช้เวลาในการให้บริการอย่างเหมาะสม เพื่อตอบสนองกลยุทธ์การให้บริการโดยการคำนึงถึงผู้ใช้บริการเป็นสำคัญของสำนักบรรณสารการพัฒนา
Thumbnail Image
Item
คู่มือการให้บริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือของสำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
กนกวรรณ จันทร (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2023-12-22)
คู่มือการให้บริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือของสำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประกอบด้วย การขอเลขมาตรฐานประจำหนังสือ (ISBN) ของหอสมุดแห่งชาติ และการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือของสำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Thumbnail Image
Item
กระบวนการสร้างชุมชนเสมือนเกมออนไลน์ในประเทศไทย
ชิณสินธุ์ คลังทอง; กุลทิพย์ ศาสตระรุจิ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
งานวิจัยเรื่อง "กระบวนการสร้างชุมชนเสมือนเกมออนไลน์ในประเทศไทย" เป็นงานวิจัยที่ มุ่งศึกษาใน 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ กระบวนการสร้างชุมชนเสมือน สภาพของชุมชนเสมือน การ บริหารจัดการชุมชนเสมือน ปัจจัยในการสร้างชุมชนเสมือน งานวิจัยฉบับนี้ใช้วิธีการศึกษาแบบผสมผสาน (Mixed Method) งานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้เครื่องมือการศึกษา ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา, การสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้บริการเกมออนไลน์จำนวน 3 คน จากเกมออนไลน์ 3 ประเภท ได้แก่ RPG, FPS และ MOBA จากเกมออนไลน์ที่มีจำนวนผู้เล่นมากที่สุดใน 3 ประเภทเกม ได้แก่ MMORPG, FPS และ MOBA โดยเกมที่เป็นตัวแทนในแต่ละประเภท คือ เกมที่มีผู้เสนสูงสุดในเกม ประเภทดังกล่าว ซึ่งได้แก่ โยวกัง (Yulgang), พอยต์ แบลงศ์ (Point Blank) และ ฮอน (Hero of Newearth: HoN) สัมภาษณ์กลุ่มกับนักเล่นเกมออนไลน์ จำนวน 5 คน ในฐานะของ ผู้รับสาร (Audiences) และผู้เล่นที่อยู่ในชุมชนเสมือน (Virtual Community Participants) สำหรับวิจัยเชิงปริมาณ ใช้เครื่องมือด้วยแบบสอบถามสำรวจออนไลน์ (Online Questionnaire Survey) ใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) โดยทำแบบสอบถามออนไลน์ผ่านเว็บไซค์เกม ออนไลน์โยวกัง และพอยต์แบลงค์ วิเคราะห์ข้อมูล 3 ลักษณะ ได้แก่ การใช้สถิติพรรณนา, การ วิเคราะห์ด้วย T-TEST และ Scheffe เพื่อหาความเชื่อมโยงระหว่างการปฏิสัมพันธ์ในชุมชน เสมือนของผู้เล่นที่แตกต่างกัน มีความสัมพันธ์ระบบเกมออนไลน์ที่ต่างกันและ Pearson's Correlation ในการหาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยทางการตลาด และชุมชนเสมือนเกมออนไลน์ โดยผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ 1) กระบวนการสร้างชุมชนเสมือนเกมออนไลน์ พบว่า องค์ประกอบเกม ระบบ เกม กิจกรรมออฟไลน์ และการบริหารจัดการชุมชนเสมือนที่เหมาะสม มีผลต่อลักษณะการเกิด ชุมชนเสมือน2) สภาพของชุมชนเสมือน ขึ้นอยู่สักษณะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เล่นเกม ออนไลน์ นอกจากนั้นพบว่า สื่อออนไลน์ และออฟไลน์มีผลต่อสภาพชุมชนเสมือนเกมออนไลน์ที่ เหมาะสม นวมไปถึงการจัดการชุมชนเสมือนที่เหมาะสม 3) การบริหารจัดการชุมชนเสมือน พบว่า การบริการจัดการชุมชนเสมือนเป็น การใช้เครื่องมือต่างๆ ผ่านหลากหลายสื่อ โดยสื่อออนไลน์เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยในการจัดการ ชุมชนเสมือน และไม่สามารถขาดการจัดการด้วยการจัดกิจกรรมออฟไลน์ด้วยเช่นเดียวกัน นอกจากนั้นการจัดการชุมชนเสมือนเกมออนไลน์ที่เหมาะสมจะสะท้อนรายได้ของเกมออนไลน์ 4) ปัจจัยในการสร้างชุมชนเสมือน ปัจจัยด้านการสื่อสารการตลาดเป็นปัจจัย หลักที่ก่อให้เกิดชุมชนเสมือนเกมออนไลน์ นอกจากนั้นปัจจัยอื่นๆ ที่สนับสนุนเป็นปัจจัยจาก พื้นที่ออฟไลน์ เป็นส่วนสนับสนุนให้ชุมชนเสมือนเกมออนไลน์เกิดขึ้นได้ ส่วนป๋จจัยส่วนประสม การตลาดออนไลน์ 6P เป็นปัจจัยเลริมให้เกิดชุมชนเสมือน ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งนี้มุ่งเนันการพัฒนาเกม และการบริหารจัดการชุมชนเสมือน เกมออนไลน์ ตลอดจนสื่อติจิทัสอื่นๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน โดยการพัฒนาเกมออนไลน์ ต้องพิจารณาถึงรูปแบบของชุมชนเสมือนที่พึ่งจะเกิดขึ้น เนื่องจากชุมชนเสมือนเป็นแหล่ง รายได้ของบริษัทได้อีกทางหนึ่ง นอกจากนั้นปัจัยด้านการสื่อสารและระบบสังคมของเกม ออนไลน์เป็นระบบดิจิทัลที่สำคัญในการสนับสนุนการก่อตัวของชุมชนเสมือนเกมออนไลน์ไห้ เกิดขึ้น และประเด็นสุดท้ายในขณะที่การบริหารจัดการชุมชนเสมือน ต้องอาศัยเครื่องมือดิจิทัล ในการบริหารจัดการชุมชนเสมือน รวมไปถึงการจัดกิจกรรมออฟไลน์เพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการชุมชนเสมือนออฟไลน์อีกด้วย
Thumbnail Image
Item
พฤติกรรมการใช้และการรับรู้อิทธิพลของสื่อดิจิทัลต่อเจเนอเรชั่นวายและเจเนอเรชั่นแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
เอมิการ์ ศรีธาตุ; ประทุม ฤกษ์กลาง (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อดีจิทัล การเข้าถึงสื่อดิจิทัล ระดับการู้สื่อดิจิทัล และะดับการับรู้อิทธิพลด้านลบของสื่อดิจิทัลต่อเจเนอเรชั่นวายและ เจเนอเรชั่นแซด โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มเจเนอเรชั่นวายและเจเนอเรชั่นเซดที่ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายถึงระดับปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีอายุ 15-24 ปี จำนวน 400 คน เป็นผู้ตอบแบบสอบถามการวิจัยครั้งนี้ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างเยาวชนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 15-18 ปี โดยเป็นเจเนเรชั่นแซด การศึกษาอยู่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. โดยมีรายได้ครอบครัวต่อเดือนเฉลี่ย 10,00 1-20,000 บาท และมีประสบการณ์ในการใช้สื่อดิจิทัลมากกว่า 4 ปี โดยเมื่อจำแนก ออกเป็นกลุ่มตามช่วงอายุของเจเนอเรชั่น ในกลุ่มตัวอย่างเจเนอเรชั่นแซดมีจำนวนมากกว่ากลุ่มตัวอย่างเจเนอเรชั่นวาย โดยรวมมีการใช้สื่อดีจิทัลอยู่ในระดับมาก ซึ่ง เฟชบุ๊ค ยังเป็นประเภทสื่อดิจิทัลที่มีความนิยมสูงสุด และเจเนอเรชั่นวายเป็นกลุ่มที่มีพฤติกรรมการใช้สื่อดีจิทัลมากกว่ากลุ่มเจเนอเรชั่นแซด โทรศัพท์มือถือเป็นอุปกรณ์ที่ใช้มากที่สุดและส่วนใหญ่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตจากการใช้สัญญาณ WIFI จากที่พัก ในด้านการู้สื่อดิจิทัล พบว่า กลุ่มเจเนอเรชั่นวายมีระดับการรับรู้ทักษะมากกว่ากลุ่มเจเนอเรชั่นแซดในทุกทักษะ ยกเว้นทักษะการประเมินเนื้อหาสารโดยทั้ง 2 เจเนอเรชั่นมีการรับรู้ทักษะในการู้สื่อมากที่สุดคือ เข้าถึงสื่อดิจิทัล รองลงมาเป็นทักษะการวิเคราะห์สื่อดิจิทัล ส่วนอันดับ 3 ของเจเนอเรชั่นวาย คือ การรับรู้ทักษะการมีส่วนร่วม ในขณะที่เจเนอเรชั่นแซด คือทักษะการประเมินเนื้อหาสาร ซึ่งโดยรวมมีการรับรู้ทักษะด้าน การรู้สื่อดิจิทัลอยู่ในระดับมาก และด้านการรับรู้อิทธิพลด้านลบของสี่อดิจิทัส พบว่าเจเนอเชั่นวายมีระดับการับรู้อิทธิพลด้านลบของสื่อดิจิทัลด้านอันตรายจากการสื่อสาร และด้านสุขภาพร่างกายมากที่สุด รองลงมา คือด้านการศึกษา/ความรู้ และด้านครอบครัว ในขณะที่เจเนอเรชั่นแซดมีระดับการรับรู้อิทธิพลด้านลบของสื่อติจิทัลในด้านอันตรายจากการสื่อสารมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการศึกษา/ความรู้ และด้านสุขภาพร่างกาย โดยทั้ง 2 เจเนอเรชั่นมีระดับการรับรู้อิทธิพลด้านลบของสื่อติจิทัสในด้านการเรียนน้อยที่สุด และเจเนอเรชั่นวายยังมีระดับการรับรู้จิทธิพลด้านลบของสื่อดิจิทัสในทุกด้าน คือ ด้านการศึกษา/ความรู้ ด้านอันตรายจาก การสื่อสาร ด้านครอบครัว ด้านการเรียน และด้านสุขภาพร่างกาย มากกว่าเจเนอเรชั่นแซดยกเว้นด้านความบันเทิง ที่เจเนอเรชั่นแชดมีระตับการรับรู้อิทธิพลด้านลบของสื่อดีจิทัลมากกว่าเจเนอเรชั่นวาย นอกจากนี้ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า เยาวชนที่มี เจเนอเรชั่น การศึกษา และประสบการณ์ในการใช้สื่อดิจิทัลต่างกันมีพฤติกรรมการใช้สื่อดิจิทัลที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพบว่าเยาวชนส่วนใหญ่ที่ใช้สื่อดิจิทัลเป็นกลุ่มเจเนอเรชั่นแซด ที่มีการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. และมีประสบการณ์ในการใช้สื่อดิจิทัลมากกว่า 4 ปีขึ้นไปที่มีความบ่อยครั้งในการเข้าใช้งานสื่อติจิทัลมากที่สุด และเยาวชนที่มีประสบการณ์ในการใช้สื่อดิจิทัลต่างกันมีการู้สื่อดิจิทัลที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 โดยพบว่าเยาวชนส่วนใหญ่ที่ใช้สื่อดิจิทัลมีประสบการณ์ในการใช้สื่อดิจิทัลมากกว่า 4 ปี ขึ้นไปทำให้มีทักษะในการรู้สื่อติจิทัลมากกว่าผู้ที่มีประสบการณ์ในการใช้สื่อดิจิทัลที่น้อยกว่า 4 ปี
Thumbnail Image
Item
บทบาทสื่อมวลชนของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นสยามนิวส์ (จันทบุรี) และการรับรู้ของผู้รับสาร
วลัยลักษณ์ สมจินดา; อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพควบคู่กับการวิชัยเชิงปริมาณ (Qualitative Rescarch and (Quantitative Rescarch) มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหา ศึกษาบทบาทหน้าที่และจริยธรรมสื่อมวลซน และสำรวจการรับรู้ของผู้รับสาร หนังสือพิมพ์ท้องอื่นสยามนิวส์ (จันทบุรี) โดยเก็บข้อมูลจากการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) หนังสือพิมพ์ 14 ฉบับ สัภาษย์เชิงลึก (Ir-Depth Interview) เจ้าของและบรรณาธิการ และ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Rescarch) ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้อ่านทั้งหมด 246 คน สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1) หนังสือพิมพ์มีบทบาทเป็นสื่อมวลชนผู้รับใช้ท้องถิ่นภายใต้อุคมการณ์เพื่อ ความถูกต้องและชอบธรรม ตลอดระยะเวลา 33 ปีได้เปลี่ยนแปลงเนื้อหาภายนอกและภายในแบ่งเป็น 3 ยุด คือยุดสร้างชื่อ (ปลูกฝังอุคมการณ์) ยุดปรับตัว และยุดเชื่อม โยงสื่อไซเชียลและสิ่งพิมพ์ รูปแบบธุรกิจเป็นแบบเจ้าของคนเดียว ปัจจุบันอยู่ในสภาวะไม่ทำกำไรต้องใช้ธุรกิจส่วนตัวพยุงกิจการ ยอดพิมพ์เคยสูงสุดประมาณ 5,000 ฉบับ เหลือ 1,000 ฉบับต่อครั้ง ลดพื้นที่วางจำหน่าย สัดส่วน โฆษณาอยู่ในปริมาณเดิมแต่ใช้วิชีให้พื้นที่ โฆษณาแก่นักเขียนแทนค่าจ้าง แต่ยังไม่มีแผนที่จะหยุดกิจการ 2) การศึกษาบทบาทและจริยธรรมพบว่าสอดคล้องกับบทบาทและจริยธรรมตาม แนวคิด ทฤยฎีซึ่งได้อ้างอิงไว้ รวมถึงบทบาทการทำกิจกรรมเพื่อสังคมที่ทำต่อเนื่องมา 23 ปี 3) การรับรู้บทบาทของผู้รับสารเป็นไปตามบทบาทที่แท้จริงของหนังสือพิมพ์ ดยได้รับความมั่นใจในบทบาทการยกย่องผู้กระทำความดีมากที่สุด ตามด้วยบทบาทการยกย่องคุณงามความดีของคนที่ประกอบกิจกรรมเพื่อประ ไยชน์ห้องถิ่น และ ให้ความรู้ความบันเทิงและแจ้งข่าวสารหนังสือพิมพ์มีบทบาทหน้ำาที่และจริยธรรมที่ โคคเด่น และผู้รับสารรับรู้ แต่ผู้รับสารที่อ่านเป็นประจำกลับมีเพียงร้อยละ 7.7 นอกเหนือจากนั้น เป็นการอ่านนานๆ ครั้ง โละเตยอ่านแค่ 1-2 ครั้ง บทบาททางสังคมตอนนี้จึงไม่ได้เป็นสื่อที่ไใด้รับความนิยม แต่รักบาบทบาทของสื่อมวลชนที่ดีไว้ได้
Thumbnail Image
Item
การศึกษาความวิตกกังวลในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนระดับต้นที่มีพื้นฐานในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นแตกต่างกันในชั้นเรียนเดียวกัน
อมรรัตน์ มะโนบาล; เตวิช เสวตไอยาราม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจยัคร้ังนี้มีวตัถุประสงค์1) เพื่อศึกษาความวิตกกงัวลในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นของ ผู้เรียนระดับต้น และ 2) เปรียบเทียบความวิตกกังวลในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนที่มีพื้นฐานและไม่มีพื้นฐานในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นก่อนเข้ามหาวิทยาลัย เครื่องมือที่ใช้วิจัยคือ แบบสอบถามความวิตกกังวล ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและสถิติทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า ผู้เรียนระดับต้นมีความวิตกกังวลในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นระดับมาก สอดคล้องกันสี่ทักษะ คือ ความวิตกกังวลเกี่ยวกับเพื่อนคนอื่น ๆ ที่เรียนร่วมช้ัน การเรียนรู้ ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น และความกลัวต่อการผิดพลาดอยู่ส่วนผลการเปรียบเทียบความวิตกกังวลในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นของผูเ้รียนที่มีพื้นฐานและไม่มีพื้นฐานในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นก่อนเข้ามหาวิทยาลยัพบว่า ผูเ้รียนมีความวิตกกังวลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 สอดคล้องกันทั้งสี่ทักษะ โดยผู้เรียนที่มีพื้นฐานมีความวิตกกังวลที่เกี่ยวข้องกับเพื่อนคนอื่น ๆ ที่เรียนร่วมชั้นต่ำกว่าผู้เรียนที่ไม่มีพื้นฐานปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความวิตกกังวลในลักษณะดังกล่าว คือ การสะท้อนผล และการประเมินผลผู้เรียน