Now showing items 2377-2396 of 3318

  • Thumbnail

    ธรรมาภิบาลเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าพระนครใต้ จังหวัดสมุทรปราการ 

    ปรียานุช เลิศรัศมีมาลา; จุฑารัตน์ ชมพันธุ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดําเนินการของโรงไฟฟ้าพระนครใต้ตามหลัก ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัญหาหรืออุปสรรคเพื่อเสนอแนะแนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินการโรงไฟฟ้าพระนครใต้ตามหลักธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) กับผู้มีส่วนได้เสีย ร่วมกับการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง และประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม (The Access Initiative, TAI)เป็นหลักในการศึกษา เนื่องจากตัวชี้วัดดังกล่าวมุ่งเน้นการประเมิน “กระบวนการ”ประกอบด้วย 3 หมวด ...
  • Thumbnail

    ธรรมาภิบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณีศึกษาเทศบาลเมืองศรีราชา จังหวัดชลบุรี 

    ศิวพา สิรจามร; จำลอง โพธิ์บุญ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009)
  • Thumbnail

    ธรรมาภิบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลตำบลศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี 

    ณัชทิชา จันทร์อินทร์; จุฑารัตน์ ชมพันธุ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยในอดีตที่ผ่านมา กล่าวได้ว่าเป็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการพัฒนาที่ไม่สมดุลและไม่ยั่งยืน ด้วยเหตุนี้จึงนำไปสู่การแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างมีธรรมาภิบาล งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาธรรมาภิบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อม ปัญหาและอุปสรรค รวมถึงเสนอแนวทางในการส่งเสริมธรรมาภิบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลตำบลศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานีเก็บรวบรวมข้อมูล ...
  • Thumbnail

    ธรรมาภิบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษา เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี จังหวัดระยอง 

    ณัฐนันท์ เขียวเกษม; จุฑารัตน์ ชมพันธุ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2019)

    การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินการของเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซีตามหลักธรรมาภิบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคเพื่อเสนอแนะแนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยคุณภาพ (Qualitative Research)  มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างร่วม (Semi-Structured Interviews) กับการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participation Observation) กับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง และประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดจากคู่มือการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์ธรรมภิบาลสิ่งแวดล้อ ...
  • Thumbnail

    ธรรมาภิบาลในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลในอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 

    นฤมล สุยะราช; จันทรานุช มหากาญจนะ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    การศึกษาวิจัยครั้งนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงทัศนคติของนายกเทศมนตรี และ ปลัดเทศบาล รองปลัดเทศบาลที่มีต่อการนาหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในเทศบาล 2) ศึกษาถึงวิธีปฏิบัติ ของเทศบาลในการนาหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในการบริหารงานของเทศบาล และ 3) ศึกษาถึงปัญหา และอุปสรรคในการนาหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในเทศบาล โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่ศึกษา ในเทศบาลทัง้ 4 แห่งของอาเภอธัญบุรี ประกอบด้วย เทศบาลนครรังสิต เทศบาลเมืองสนนั่ รักษ์ เทศบาลเมืองบึงยี่โถ และเทศบาลตาบลธัญบุรี วิธีการศึกษาใช้วิธีการสัมภาษณ์จากนายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาลและรองปลัดเทศบาล รวมถึงการศึกษาจากเอกสาร
  • Thumbnail

    นวัตกรรมการประชาสัมพันธ์กับการรับรู้และตัดสินใจทำประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร 

    วัลย์ลิกา บูรณ์ทอง; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการดา เนินชีวิต การรับรู้ข่าวสารและการ ตัดสินใจทาประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างการรับรู้และการตัดสินใจทา ประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดาเนินชีวิตกับการรับรู้เรื่องการประกันวินาศภัยของ ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดาเนินชีวิตกับ การตัดสินใจทา ประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร และ 5) เพื่อศึกษากลยุทธ์ การประชาสัมพันธ์ของบริษัทประกันวินาศภัยในการ ...
  • Thumbnail

    นวัตกรรมการสื่อสารความเป็นไทยผ่านภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่อง "ยักษ์" 

    ดารายา บัวทอง; อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)

    การวิจัยครั้งนีมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่แสดงถึงความเป็นไทย ในภาพยนตร์ แอนิเมชั่นเรื่อง “ยักษ์” ทั้งในด้านเนื้อหาและการออกแบบองค์ประกอบศิลป์ และศึกษานวัตกรรม การสื่อสารที่ใช้ในการนำเสนอความเป็นไทย งานวิจัยนีเป็นงานวิจยั เชิงคุณภาพแหล่งข้อมูลที่ใช้ ในการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ DVD ภาพยนตร์แอนิเมชั่น “ยักษ์” หนังสือ “ยักษ์ Yak The Giant King” (Concept Art) ที่เล่าถึงเบื้องหลังการผลิตอย่างสมบรูณ์และกลุ่มผู้รับสารที่มี ความรู้ความเชี่ยวชาญและทำงานอยู่ในวงการผลิตแอนิเมชั่นในประเทศไทย
  • Thumbnail

    นวัตกรรมการสื่อสารผ่านแอพลิเคชั่น (Application) ของรายการเกมโชว์โซเชี่ยล ช่องไทยรัฐทีวี 32 กับการตอบสนองของผู้ชม 

    ชวภณ คารมภ์; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    การวิจัยครัง; นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ 1) เพ ือศึกษา กระบวนการสร้างสรรค์รายการแบบใช้สื อสมัยใหม่ผ่านการตอบสนอง (Interactive) โดยใช้แอพลิ เคช ัน 2) เพ ือศึกษาทัศนคติและความพึงพอใจของกลุ่มผู้ชมรายการเกมโชว์แบบตอบสนอง (Interactive) ที มีต่อรายการ เกมโชว์โซเชี ยล ทางช่องไทยรัฐทีวี โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การ สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ผลิตรายการเกมโชว์โซเช ียล โปรดิวเซอร์รายการเกมโชว์โซเช ียลและทีมงานท ี่เกี ยวข้อง ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณใช้เครื องมือการวิจัยคือ แบบสอบถาม โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เกี ยวกับทัศนคติและความพึงพอใจที ...
  • Thumbnail

    นวัตกรรมการใช้สื่อเพื่อเข้าถึงพุทธธรรมของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่องธรรมะทีวี 

    ปาณิสรา วัฒนพฤกษ์; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)

    การวิจัยเรื่อง “นวัตกรรมการใช้สื่อเพื่อเข้าถึงพุทธธรรมของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ช่องธรรมะทีวี” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้นวัตกรรมการสื่อสารของสถานีโทรทัศน์ผ่าน ดาวเทียมช่องธรรมะทีวี และศึกษาเครือข่ายการสื่อสารเพื่อการเผยแผ่พุทธธรรมของ สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่องธรรมะทีวีไปยังพุทธศาสนิกชนกลุ่มเป้าหมาย
  • Thumbnail

    นวัตกรรมทางวิธีคิดเพื่อการสื่อสารศาสนาของพระไพศาล วิสาโล 

    วศิน ประดิษฐศิลป์; วิเชียร ลัทธิพงศ์พันธ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)

    การศึกษานีมี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษานวัตกรรมการสื่อสาร (รูปแบบการสื่อสาร) ศาสนาของพระไพศาล วิสาโล และ 2) วิเคราะห์หาระบบความคิดเชิงจิตวิทยา (การคิดแบบ วิพากษ์และแบบสร้างสรรค์) แบบปุถุชน ที่มีผลต่อรูปแบบการสื่อสารศาสนาของพระไพศาล วิ สาโล ทาการศึกษาผ่านการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล ผ่านจดหมายอีเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เป็นเครื่องมือในการวิจัย
  • Thumbnail

    นวัตกรรมรูปแบบรายการโทรทัศน์และการมีส่วนร่วมของคนหูหนวก 

    พัชรินทร์ ผากา; อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    การวิจัยเรื่อง “นวัตกรรมรูปแบบรายการโทรทัศน์และการมีส่วนร่วมของคนหูหนวก” ผู้วิจัยมุ่งเน้นศึกษารายการโทรทัศน์ภาษามือส าหรับคนหูหนวก “รายการใจเท่ากัน” ออกอากาศ ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth Interview) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการผลิตรายการ เพื่อศึกษาถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อการผลิตรายการ กระบวนการผลิตรายการ รวมทั้งการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมของคนหูหนวกในรายการใจเท่ากัน และใช้การสอบถามความคิดเห็นโดยการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ซึ่งประกอบด้วยคนหูหนวก และคนทั่วไป ซึ่งเคยรับชมรายการใจเท่ากัน เพื่อศึกษาถึงการใช้ ...
  • Thumbnail

    นวัตกรรมสังคม : กรณีศึกษาโครงการของท้องถิ่นในเขตภาคเหนือของประเทศไทย 

    อลงกรณ์ คูตระกูล; ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010)
  • Thumbnail

    นวัตกรรมอินเทอร์เน็ตมีมในการสื่อสารทางการเมืองไทย: ศึกษากรณี การคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในปี พ.ศ. 2556 

    คริษฐ์ ลิ้มตระกูล; กุลทิพย์ ศาสตระรุจิ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)

    การศึกษาเรื่อง นวัตกรรมอินเตอร์เน็ตมีมในการสื่อสารทางการเมืองไทย: ศึกษากรณีการคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ในปี พ.ศ. 2556 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษารูปแบบและประเภทของอินเทอร์เน็ตมีมที่ใช้ในการสื่อสารทางการเมืองเพื่อคัดค้านร่าง พระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ในปี พ.ศ. 2556 2) เพื่อศึกษาช่องทางการสื่อสารของอินเทอร์เน็ตมีมในสื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้ในการสื่อสารทางการเมืองเพื่อคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในปี พ.ศ.2556 และ 3) เพื่อศึกษาผลของนวัตกรรมอินเทอร์เน็ตมีมในสื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้ในการสื่อสารทางการเมืองต่อการคัดค้าน ...
  • Thumbnail

    นายอำเภอในฐานะประธานกรรมการสุขาภิบาล 

    ทรงวุฒิ งามมีศรี; ประทาน คงฤทธิศึกษากร, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1968)

    สุขาภิบาลเป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นหน่วยหนึ่ง ในการศึกษาค้นคว้าผู้เขียนได้พิจารณาถึงตัวบุคคล การดำเนินการบริหาร และผลของการบริหาร เพื่อทราบว่านายอำเภอมีความเหมาะสมกับการดำรงตำแหน่งประธานกรรมการสุขาภิบาลเพียงใด มีอุปสรรคอะไรที่ควรนำมาวิเคราะห์เพื่อแก้ไข โดยศึกษาจากตัวบทกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และงานทางด้านปฏิบัติ
  • type-icon

    นิด้าจุดประกายความรู้สู่สังคม 

    สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-08)

    กึ่งทศวรรษแห่งความภาคภูมิใจสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ทศวรรษที่ 1 ยุคแห่งการวางรากฐานสถาบันต้นแบบ เกิดหลักสูตรด้านพัฒนบริหารศาสตร์ การสอนระดับบัณฑิตศึกษาและนิด้าโพลที่มีชื่อเสียง ทศวรรษที่ 2 ยุคแห่งการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและเทคโนโลยี เกิดศูนย์บริการวิชาการ โครงการ NIDA IMET และ Tact Awards ทศวรรษที่ 3 ยุคแห่งการขยายโอกาสทางการศึกษา เกิดหลักสูตรนอกเวลา สำนักสิริพัฒนา การสนับสนุนงานวิจัย และศูนย์ข่าวจีระบุญมาก ทศวรรษที่ 4 ยุคแห่งวิชาการพัฒนาอย่างยั่งยืน เกิดศูนย์การศึกษาสีคิ้ว ศูนย์การศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง สูตรการปรับค่าไฟและแนวคิดการประก ...
  • type-icon

    นิด้าโพล 

    สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-08)

    ประเทศไทยประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และมีการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรใน พ.ศ. 2518 เป็นการเลือกตั้งที่ประชาชนตื่นตัวมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ คณาจารย์ของสถาบันกลุ่มหนึ่งได้ร่วมกันทำโพลการเลือกตั้งขึ้น เพราะในประเทศไทยยังไม่เคยมีใครทำอย่างจริงจังมาก่อน ถือได้ว่านิด้าโพลเป็นโพลล์แรกในประเทศไทย ที่มีการดำเนินการเพื่อทำนายผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการ
  • Thumbnail

    นโยบายที่ดีที่สุดสำหรับการซื้อและขายสินค้าในกรณีที่อุปทานมีจำนวนจำกัด และอุปสงค์มีจำนวนไม่จำกัด 

    บรรเจิด อารีกุลชัย; วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1976)

    วิทยานิพนธ์เล่มนี้เป็นการศึกษาเพื่อกำหนดนโยบายที่ดีที่สุด ในการซื้อและขายสินค้าโดยถือเอาผลกำไรสูงสุดเป็นเกณฑ์ตัดสิน ตัวแบบจำลองที่สร้างขึ้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับการค้าขายสินค้าทุกชนิด เมื่อโครงสร้างด้านการตลาดของสินค้าดังกล่าวมีอุปสงค์ไม่จำกัดและมีอุปทานจำกัด การเลือกคำตอบที่ดีที่สุดจากตัวแบบจำลองใช้เทคนิคการเลือกแบบพลวัตร (Dynamic programming) การประยุกต์ตัวแบบจำลองใช้กับปัญหาจริงในที่นี้ได้นำเอากรณีการค้าข้าวโพดส่งออกของประเทศไทยมาเป็นตัวอย่าง.
  • type-icon

    นโยบายอุตมะในการดำเนินงานเขื่อนภูมิพล 

    อวยชัย มิตรทองแท้; วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1977)

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงปริมาณน้ำที่เหมาะสม ที่จะปล่อยไปเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าและการชลประทานในแต่ละสภาวะของปริมาณน้ำในเขื่อนในคาบเวลาหนึ่ง เพื่อให้ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเนื่องจากการดำเนินงานเขื่อนเฉลี่ยในระยะยาวมีค่าต่ำสุด ค่าใช้จ่ายที่จะพิจารณาในที่นี้จะพบว่าเป็น 2 ประเภทคือ ค่าใช้จ่ายในการผลิตไฟฟ้าและความเสียหายในด้านเกษตรกรรม เนื่องจากปริมาณน้ำในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยามีมากกว่าหรือน้อยกว่าความต้องการทางเกษตรกรรม
  • Thumbnail

    นโยบายและการจัดการด้านเอดส์ในที่ทำงาน คุณภาพชีวิตการทำงานและความพึงพอใจต่อองค์การ 

    ปริญญา ศรีทิพย์; บุษยา วีรกุล (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของนโยบายและการจัดการด้านเอดส์ และคุณภาพชีวิตการทำงาน ต่อความพึงพอใจของพนักงานต่อองค์การ องค์การที่ศึกษาแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ (1) องค์การผ่านเกณฑ์ประเมินจาก "โครงการส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวปฏิบัติ แห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ทำงานในปี พ.ศ. 2559" (NAAPAPM) และ (2) องค์การที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการการวิจัยใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามและ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก ซึ่งแบบสอบถามใช้วิธีการส่งทางไปรษณีย์ ผลการเก็บข้อมูลมีแบบสอบถาม ใช้ได้จริงจำนวนร้อยละ 90.21 จากจำนวนแบบสอบถามทั้งหมด ...
  • Thumbnail

    บทบาท อำนาจหน้าที่ และที่มาของวุฒิสภาที่เหมาะสมกับประเทศไทย 

    ศักดา ศรีทิพย์; บรรเจิด สิงคะเนติ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    ประเทศไทยมีวุฒิสภาเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2489 เรียกว่า “พฤฒสภา” มาจากการ เลือกตั้งโดยทางอ้อม โดยกําหนดให้วุฒิสภามีบทบาทในการยับยั้งร่างกฎหมาย เมื่อรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2489 ถูกยกเลิก รัฐธรรมนูญฉบับต่อมาจนถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พ.ศ.2534 ได้กําหนดบทบาทให้วุฒิสภาเป็นผู้ค้ําจุนอํานาจและเสถียรภาพให้แก่รัฐบาล สมาชิก วุฒิสภาจึงมาจากการแต่งตั้งโดยตลอด เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสังคมวิทยาการเมืองในขณะนั้น เนื่องจากรัฐบาลไร้เสถียรภาพ การให้นายกรัฐมนตรีเสนอรายชื่อสมาชิกวุฒิสภา เป็นการผ่อนคลาย ความตึงเครียดทางการเมือง ทําให้รัฐบาลได้ร ...