Now showing items 2401-2420 of 3464

  • Thumbnail

    จดหมายข่าวนิด้าสัมพันธ์ ฉบับที่ 9 ปี 2556 

    สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)

    จดหมายข่าวนิด้าสัมพันธ์ ฉบับที่ 9 ปี 2556
  • Thumbnail

    จริยธรรมนักข่าวพลเมืองในการนำเสนอข่าวเด็กผ่านสื่อสังคมออนไลน์ 

    เทียนทิพย์ เดียวกี่; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)

    การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาของการนำเสนอข่าวเด็กของนักข่าวพลเมืองในสื่อสังคมออนไลน์ 2) สร้างแนวทางจริยธรรมในการนำเสนอข่าวเด็กของนักข่าวพลเมืองในสื่อสังคมออนไลน์ที่เหมาะสม และ 3) ศึกษาแนวความคิดเห็นจากแนวทางจริยธรรมการนำเสนอข่าวเด็กของนักข่าวพลเมืองในสื่อสังคมออนไลน์ โดยเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods research) ซึ่งศึกษาจากเอกสาร และการให้ข้อมูลของผู้ให้ข้อมูลหลัก โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)  จำนวน 16 คน  แบ่งออกเป็นตัวแทนนักข่าวพลเมือง 4 คน  ตัวแทนกลุ่มนักข่าววิชาชีพ จำนวน 4 คน ตัวแทนกลุ่มนักวิชาการด้ ...
  • Thumbnail
  • Thumbnail

    จิตคำนึงถึงส่วนรวมร่วมกันของชุมชนป่าตรง 

    เสถียร สีชื่น; สุพรรณี ไชยอำพร, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)

    การศึกษานี้มีวัตถประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความหมายของจิตคํานึงถึงส่วนรวมร่วมกันใน ทัศนะของชุมชน 2) ศึกษาการขัดเกลาทางสังคมของชุมชนป่าตรง ที่เอื้อให้เกิดจิตคํานึงถึง ส่วนรวมร่วมกัน และ 3) ศึกษาการสนับสนุนทางสังคมของชุมชนป่าตรงที่เอื้อให้เกิดจิตคํานึงถึง ส่วนรวมร่วมกัน การศึกษาใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเน้นสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับผู้ให้ข้อมูลที่สําคัญ 15 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้หลักตรรกะเทียบเคียงกับแนวคิด ทฤษฎีควบคู่กับ บริบทและใช้สถิติเชิงพรรณนาประกอบ ผลการศึกษาพบว่า 1) ชาวชุมชนได้ให้ความหมายของจิตคํานึงถึงส่วนรวมร่วมกัน คือ สามารถแบ่ง ความหมายออกเป็ ...
  • Thumbnail

    จิตคำนึงถึงส่วนรวมร่วมกันของนักศึกษาระดับปริญญาตรีโปรแกรมวิชาพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎลาวกาว 

    เอมอร แสนภูวา; สุพรรณี ไชยอำพร, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    วัตถุประสงค์ของการศึกษาคือ 1) เพื่อศึกษาจิตคำนึงถึงส่วนรวมร่วมกันของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีโปรแกรมวิชาพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลยราชภัฏลาวกาว และ 2) เพื่อศึกษาเงื่อนไขทาง จิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับการมีจิตคำนึงถึงส่วนรวมร่วมกัน การศึกษาเป็นการศึกษาเฉพาะกรณีโดยใช้ กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก ใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับผู้ให้ข้อมูลที่สําคัญ 21 คน ซึ่งผลการศึกษาพบว่า จิตคำนึงถึงส่วนรวมร่วมกันของนักศึกษาโปรแกรมวิชาพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏลาวกาว คือการสร้างจิตใจแห่งการให้เสียสละ เอื้ออาทรแบ่งปัน จิตสำนึกที่มีต่อส่วนรวม คือ ต้องการให้สังคมเกิดสันติสุข ...
  • Thumbnail

    จิตลักษณะและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 

    สุมิตตรา เจิมพันธ์; ดุจเดือน พันธุมนาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2002)
  • Thumbnail

    จิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมรับผิดชอบบุตรในวัยเรียนของผู้ปกครอง 

    สุธาสินี ทองลิ่ม; ดุจเดือน พันธุมนาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2005)
  • Thumbnail

    จิตสำนึกของมัคคุเทศก์ต่อการนำเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษามัคคุเทศก์อาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร 

    กนกพร คุณรัชตะไพโรจน์; จิระพร บูรณสิน, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2003)
  • Thumbnail

    จิตสำนึกทางการเมืองของชาวนา : ศึกษาเฉพาะกรณีหมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอหนองหงส์ จังหวัดบุรีรัมย์ 

    ปริญญาพร ขุขันธิน; แสวง รัตนมงคลมาศ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1991)

    การศึกษาเรื่อง จิตสำนึกทางการเมืองของชาวนา เป็นการศึกษาถึงการดำรงอยู่ (Being) และการเกิดจิตสำนึกโดยศึกษาการก่อเกิดของจิตสำนึกในลักษณะกระบวนการ (Process) และเน้นภาคปฏิบัติการ (Practice) ของมนุษย์ (Subject)
  • Thumbnail

    จิตสำนึกและพฤติกรรมการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้ำ อันเกิดจากการมีส่วนร่วมในโครงการตามกรอบแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษา ชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยง หมู่บ้านป่าละอูในโครงการหมู่บ้านสหกรณ์ห้วยสัตว์ใหญ่อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 

    สาโรจน์ พานิชชานนท์; ธวัชชัย ศุภดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010)

    งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาแบบผสมระหว่างเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุ ประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในโครงการตามกรอบแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของชาว ไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยง ที่มีผลต่อระดับจิตสํานึกและระดับพฤติกรรมการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้ํา และศึกษาระดับจิตสํานึกฯ ที่มีผลต่อระดับพฤติกรรมในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้ํา รวม ทั้งศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อระดับการมีส่วนร่วมในโครงการฯ ระดับจิตสํานึกฯ และระดับ พฤติกรรมฯ โดยรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามกึ่งสัมภาษณ์การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต พฤติกรรมและสภาพแวดล้อม และเอกสารจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ...
  • Thumbnail

    จิตสํานึกของประชาชนในการปองกันและปราบปรามการคอรรัปชัน กรณีศึกษา ประชาชนที่อาสาสมัครเขามามีสวนรวม ในการปองกันและปราบปรามการคอรรัปชัน 

    พิศอำไพ สมความคิด; สุรสิทธิ์ วชิรขจร (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับจิตสํานึกของประชาชน ในการป้องกันและปราบปรามการคอร์รัปชัน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับจิตสํานึกของ ประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการคอร์รัปชัน และ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่สามารถทํานายระดับจิตสํานึกของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการคอร์รัปชัน กลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาสาสมัครเข้ามามีส่วนร่วมในการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันทั่วประเทศ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 400 คน ...
  • Thumbnail

    ฉนวนกันความร้อนกับการลดระดับเสียงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 

    นพวรรณ สราสำรวย; บุญจง ขาวสิทธิวงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008)
  • Thumbnail

    ช่วงโควิด-19 ทะเลได้พักฟื้น สู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน 

    อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา; กาญจนา ย่าแสน (กรุงเทพฯ : สถาบันคลังสมองของชาติ; สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), 2021)

    บทนำ -- ห้าพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว -- การท่องเที่ยวและการฟื้นตัวของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในช่วงวิกฤติการณ์โควิด-19 -- ขีดความสามารถในการรับรอง (Carrying Capacity) -- มาตรการการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง -- สรุปและข้อเสนอแนะ.
  • Thumbnail

    ฐานข้อมูลทางด้านวิศวกรรมเพื่องานวางแผน 

    ศิรดา แก้วสุจริต; วัลลภ วิมลวณิชย์, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1983)

    ฐานข้อมูลทางด้านวิศวกรรมเพื่องานวางแผน (The Engineering Data Base for Planning Purpose) เป็นฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างฐานข้อมูลที่เก็บข้อมูลทางด้านวิศวกรรมของโรงจักรต่าง ๆ ที่ผลิตกระแสไฟฟ้าทั่วประเทศไทย ฐานข้อมูลนี้จะให้บริการข่าวสารทางด้านวิศวกรรมแก่ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับที่เกี่ยวข้อง เพื่อจะได้นำไปใช้ในการวางแผนในขั้นต่าง ๆ การออกแบบโครงสร้างของข้อมูลที่จะเก็บในฐานข้อมูล และวิธีการที่จะนำข้อมูลจากฐานข้อมูลออกมาใช้ได้อาศัยความต้องการของผู้ใช้เป็นหลักสำคัญ และได้นำเอาโปรแกรมสำเร็จรูปซึ่งใช้กับระบบฐานข้อมูลโดยเฉพาะ ชื่อ DMS 1100 ...
  • Thumbnail

    ดุลยภาพของประโยชน์สาธารณะกับสิทธิของเจ้าของงานอันมีลิขสิทธิ์ในยุคดิจิทัล 

    อรรธพล หมานสนิท; วริยา ล้ำเลิศ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์)

    ในปัจจุบันกฎหมายลิขสิทธิ์ได้ถูกบังคับใช้เพื่อคุ้มครองงานสร้างสรรค์ที่อยู่ในบริบทดิจิทัล ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 และที่แก้ไข ซึ่งกฎหมายดังกล่าวได้เพิ่มเติมส่วนที่ให้การคุ้มครองลิขสิทธิ์นั้นสอดคล้องกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโลยีดิจิทัล  อย่างไรก็ตามการแก้ไขดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหา ส่งผลทำให้ประโยชน์สาธารณะถูกกระทบจากการที่ผู้ใช้งานสร้างสรรค์ไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้งานสร้างสรรค์ได้แม้ผู้ใช้ได้ปฏิบัติตามข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์แล้วก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกิดปัญหาในการใช้งานโดยธรรม (Fair Use) ที่เป็นหลักการสำคัญในการสร้างดุลยภาพระห ...
  • Thumbnail

    ตราไปรษณียากรที่ระลึกในโอกาศครบรอบ 125 ปี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ 

    สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-03)

    ตราไปรษณียากรที่ระลึกในโอกาศครบรอบ125ปีพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2559 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์จัดพิธีสักการะพระอนุสาวรีย์ ณ บริเวณระเบียงด้านหน้าอาคารนราธิปพงศ์ประพันธ์ เนื่องจากวันที่ 25 สิงหาคม 2559 เป็นวันครบรอบ125ปีพระชาตกาลของพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ประธานคณะกรรมการก่อตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมรำลึกถึงพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์และเพื่อเผยแพร่ประวัติและผลงานอันเป็นคุณประโยชน์ต่อสถาบันและประเทศชาติ
  • Thumbnail

    ตราไปรษณียากรที่ระลึกในโอกาศครบรอบ 50 ปี ของการก่อตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 

    สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-02)

    ตราไปรษณียากรที่ระลึกในโอกาศครบรอบ50ปีของการก่อตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ "ห้าทศวรรษนิด้า สืบสานพระราชปณิธาน สร้างนักบริหารการพัฒนา"
  • Thumbnail

    ตัวคูณทวีการท่องเที่ยวและผลกระทบต่อการกระจายรายได้: หลักฐานเชิงประจักษ์จากข้อมูลโรงแรมของประเทศไทย 

    ศุกระวรรณ เศวตะพุกกะ; พิริยะ ผลพิรุฬห์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)

    อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจและรายได้ของประเทศไทยเป็นอย่างมาก ก่อให้เกิดการจ้างงานและมีความเชื่อมโยงไปสู่อุตสาหกรรมอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมโรงแรม นอกจากนี้อุตสาหกรรมโรงแรมยังเป็นอุตสาหกรรมที่มีการพึ่งพาธุรกิจค้าปลีกและธุรกิจค้าส่งอย่างมาก จึงทำให้อุตสาหกรรมนี้สร้างรายได้และการจ้างงานเพิ่มขึ้นมากกว่าอุตสาหกรรมที่พักอาศัยประเภทอื่นๆ ดังนั้น โครงการวิจัยนี้จึงพยายามอธิบายผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อการกระจายรายได้ผ่านอุตสาหกรรมโรงแรม ด้วยวิธีการตัวทวีคูณการท่องเที่ยว (Tourism Multiplier) และศึกษาหาปัจจัยที่จะส่งผลต่อผลกระท ...
  • Thumbnail

    ตัวประมาณค่าด้วยวิธีของซิลส์ในการเลือกตัวอย่างแบบกลุ่มขั้นเดียว 

    ชัชวาลย์ กองน้ำ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    งานวิจัยนีได้นําเสนอตัวประมาณค่าเฉลี่ยประชากรโดยใช้วิธีการของซิลส์ สําหรับการ เลือกตัวอย่างแบบกลุ่มขั้นเดียวแบบง่าย ไม่คืนที ตัวประมาณค่าตัวแรก พัฒนาจากค่าเฉลี่ยของกลุ่ม เมื่อทราบค่าสัมประสิทธิการแปรผันของค่าเฉลี่ยของกลุ่ม และขนาดของกลุ่ม และตัวประมาณค่าที่ สอง พัฒนาจากค่าเฉลี่ยแบบอัตราส่วน เมื่อทราบค่าสัมประสิทธิการแปรผันของค่ายอดรวมของ กลุ่ม และของขนาดของกลุ่ม ข้อมูลที่ใช้เปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวประมาณค่าทั้งสอง เป็น ข้อมูลที่มีการเผยแพร่ แล้ว ที่ประชากรมีการแบ่งออกเป็น 20กลุ่ม ซึ่งจะสุ่มเลือกตัวอย่างขนาด เท่ากับ 5, 10และ 15 กลุ่ม ...
  • Thumbnail

    ตัวประมาณแบบใช้อัตราส่วนในการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ 

    สิริกานต์ คมวิลาศ; ประชุม สุวัตถี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    งานวิจัยนี้ศึกษาตัวประมาณค่าเฉลี่ยประชากรที่ไม่เอนเอียงและแบบใช้อัตราส่วน 2 แบบ คือ ตัวประมาณแบบอัตราส่วนแยกกันและตัวประมาณแบบอัตราส่วนร่วมกันในการสุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งเป็นชั้น การศึกษาใช้การเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนของค่าประมาณทั้ง 3 แบบ โดยการจำลอง 9 ประชากร แต่ละประชากรประกอบไปด้วยค่าของตัวแปรที่สนใจศึกษาและตัวแปรช่วย 6,000 คู่ให้มีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่ 0.1, 0.2, 0.3, …, 0.9 แบ่งประชากรแต่ละประชากรออกเป็น 3, 4, 5, ..., 9 ชั้นภูมิ โดยใช้ความถี่ของตัวแปรช่วย แล้วสุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ประมาณค่าเฉลี่ยประชากรและความแปรปรว ...