Browsing by Author "จันทรานุช มหากาญจนะ"
Now showing items 1-6 of 6
-
The Impacts of Local Executive' Policies on Provincial Administrative Organizations' Revenue Collection
Supatjit Ladbuakhao; สุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาว; Chandra-nuj Mahakanjana; จันทรานุช มหากาญจนะ; National Institute of Development Administration. School of Public Administration; Chandra-nuj Mahakanjana; จันทรานุช มหากาญจนะ (National Institute of Development Administration, 12/8/2022)
The main objectives of this research were 1) the impacts of local executive' policies on provincial administrative organizations' revenue collection; 2) to study the management of revenue collection for success on provincial administrative organizations' revenue collection. The research method uesd are qualitative are research documents and informal interviews. From key informants related to the impacts of local executive' policies with a total of 12 people within the local executive', department head and the officials involved in collecting ... -
การศึกษาอิทธิพลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะ: กรณีโรงไฟฟ้าพลังความร้อน (ถ่านหิน) กระบี่
เขมภัฏ ห้วยลึก; จันทรานุช มหากาญจนะ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2021)
งานวิจัยชิ้นนี้มีวัถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการนโยบายสาธารณะ พลวัตรของนโยบายสาธารณะ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและวิธีการสร้างอิทธิพลของกลุ่มต่าง ๆ ต่อโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อน (ถ่านหิน) กระบี่ ซึ่งมีวิธีการศึกษาเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ในพื้นที่จังหวัดกระบี่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งที่จังหวัดกระบี่และกรุงเทพฯ และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม แล้วทำการวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบให้กับวัถุประสงค์การวิจัย ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการนโยบายของโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อน (ถ่านหิน) กระบี่ ถูกกำหนดโดยหน่วยงานส่วนกลางผ่านคณะ ... -
ความสามารถในการถูกตรวจสอบของข้าราชการท้องถิ่น
จักรีพร เสมอใจ; จันทรานุช มหากาญจนะ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อ 1) ศึกษากลไกที่ข้าราชการท้องถิ่นใช้ ปรับตัวเพื่อสร้างสมดุลความสามารถในการถูกตรวจสอบทั้ง 4 ด้านหลังจากที่มีการกระจาย อานาจให้กับท้องถิ่น เเละ 2) ศึกษาเเละหาเเนวทางในการเพิ่มความสามารถในการถูกตรวจสอบ ของข้าราชการท้องถิ่น จากผลการศึกษาวิจัยพบว่า กลไกที่ข้าราชการท้องถิ่นใช้ปรับตัวเพื่อสร้าง สมดุลความสามารถในการถูกตรวจสอบ คือ ข้าราชการท้องถิ่นจะต้องตอบสนองด้วยการปฏิบัติ ตามคาสั่งเเละกฎระเบียบข้อบังคับอย่างเคร่งครัด หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น เเละพบว่ามีความผิด จริง ข้าราชการท้องถิ่นจะต้องพร้อมรับผิด ... -
ธรรมาภิบาลในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลในอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
นฤมล สุยะราช; จันทรานุช มหากาญจนะ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
การศึกษาวิจัยครั้งนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงทัศนคติของนายกเทศมนตรี และ ปลัดเทศบาล รองปลัดเทศบาลที่มีต่อการนาหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในเทศบาล 2) ศึกษาถึงวิธีปฏิบัติ ของเทศบาลในการนาหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในการบริหารงานของเทศบาล และ 3) ศึกษาถึงปัญหา และอุปสรรคในการนาหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในเทศบาล โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่ศึกษา ในเทศบาลทัง้ 4 แห่งของอาเภอธัญบุรี ประกอบด้วย เทศบาลนครรังสิต เทศบาลเมืองสนนั่ รักษ์ เทศบาลเมืองบึงยี่โถ และเทศบาลตาบลธัญบุรี วิธีการศึกษาใช้วิธีการสัมภาษณ์จากนายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาลและรองปลัดเทศบาล รวมถึงการศึกษาจากเอกสาร -
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการผลักดันวาระนโยบายด้านปัญหาแรงงานต่างด้าว : กรณีศึกษาเทศบาลนครสมุทรสาคร
จินดา ธำรงอาจริยกุล; จันทรานุช มหากาญจนะ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การศึกษาเรื่องบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผลักดันวาระนโยบายด้านปัญหาแรงงานต่างด้าว: กรณีศึกษาเทศบาลนครสมุทรสาคร มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาปัญหาและผลกระทบของปัญหาแรงงานต่างด้าวต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัจจัยในการผลักดันวาระนโยบายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยศึกษากรณีผลักดันวาระนโยบายการกำหนดนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับแรงงานต่างด้าว -
เครือข่ายกับศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบเทศบาลในประเทศไทย
ฉกาจ ลอยทอง; จันทรานุช มหากาญจนะ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009)
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หล์ก 3 ประการคือ ประการแรกเพื่อศึกษากระบวนการสร้าง เครือข่ายความสัมพันธ์และผลกระทบของกระบวนการสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ที่มีผลต่อ ศักยภาพการบริหารงานเทศบาล ประการที่สองเพื่อศึกษามูลเหตุและเงื่อนไขที่ทําให้เกิดการสร้าง เครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างเทศบาลกับภาคส่วนต่างๆ และประการที่ สามเพื่อศึกษาปัจจัย ส่งเสริมและอุปสรรคในการสร้างเครือข่ายที่มีผลต่อการบริหารงานเทศบาลโดยมีสมมติฐานของ การวิจัยว่า เทศบาลที่มีการบริหารจัดการที่ดีมีรูปแบบการสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์กับภาคส่วน ต่างๆ ที่มีความเชื่อมโยงกับการบริหารงานท้องถิ่น ...