Now showing items 1-19 of 19

  • Thumbnail

    DEVELOPMENT OF SUSTAINABLE CONSUMPTION AND PRODUCTION INDICATORS FOR INDUSTRIAL SECTOR ACCORDING TO CIRCULAR ECONOMY PRINCIPLES IN THAILAND 

    PEERAPORN PALAPLEEVALYA; พีรพร พละพลีวัลย์; Chamlong Poboon; จำลอง โพธิ์บุญ; Chamlong Poboon; จำลอง โพธิ์บุญ (National Institute of Development Administration, 7/1/2022)

    The aim of this research is to (1) investigate sustainable consumption and production indicators for industries as well as examine the difficulties and limitations in using these indicators for the Eco-Factory program under the Federation of Thai Industries; and (2) develop sustainable consumption and production indicators for Thai industries based on the Sustainable Consumption and Production Roadmap 2017-2037 and circular economy principles which are part of Thailand’s long-term strategic plan under the national industrial development goals ...
  • Thumbnail

    Evaluation of Municipal Solid Waste and Hazardous Waste Management: A Case Study of Ban Dong Sub-District Administrative Organization, Ubolratana District, Khonkaen Province 

    Pennapa Khammadcha; เพ็ญนภา คำมัจฉา; Chamlong Poboon; จำลอง โพธิ์บุญ; Chamlong Poboon; จำลอง โพธิ์บุญ (National Institute of Development Administration, 7/1/2022)

    The purposes of this study were 1) to investigate the community solid waste and hazardous waste management and the management performance, and 2) to analyze factors affecting the success of community waste management in Ban Dong Sub-District Administrative Organization, Ubolratana District, Khonkaen Province. This study was a qualitative research.  Data were collected from related documents, interviews with key informants, namely the Mayor, Deputy Mayor, Permanent Secretary, Deputy Permanent Secretary of Ban Dong Sub-District Administrative ...
  • Thumbnail

    การจัดการปัญหาขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยในจังหวัดปทุมธานี 

    สิริมา ปกป้อง; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)

    การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและสาเหตุของปัญหาขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยในจังหวัดปทุมธานี ศึกษาการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยและปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการดังกล่าว และเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการจัดการปัญหาขยะตกค้างสะสมในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยในจังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยหรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมาย เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย ประชาชนที่เข้ามาคัดแยกขยะ ...
  • Thumbnail

    การถอดบทเรียนความสำเร็จในการปรับตัวต่อผลกระทบจากภัยแล้งของชุมชน: ศึกษากรณี ชุมชนบ้านลิ่มทอง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ 

    สาธิกา นาวีระ; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020)

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสถานการณ์ปัญหาภัยแล้งและการดำเนินการเพื่อแก้ปัญหา และวิเคราะห์ความสำเร็จในการปรับตัวต่อผลกระทบจากภัยแล้งของชุมชนบ้านลิ่มทอง ตำบลหนองโบสถ์ อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้นำชุมชนและผู้ที่อยู่อาศัยในชุมชนบ้านลิ่มทอง และผู้บริหารและบุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลและการสังเกตการณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหาตามกรอบการประเมิน CIPP-I Model ผลการวิจัย พบว่า ชุมชนบ้านลิ่มทองเป็นพื้นที่ที่ประสบปัญหาภัยแล้ง คือ ขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร ...
  • Thumbnail

    การประเมินประสิทธิผลศูนย์เรียนรู้พลังงานชุมชนของ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 

    รุจิรา ทนงกิจ; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้พลังงานชุมชน ของส่วนพลังงานชุมชน ฝ่ายกิจการเพื่อสังคม บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) และ 2) ศึกษาปัจจัย ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานและผลสำเร็จศูนย์เรียนรู้พลังงานชุมชน ของส่วนพลังงานชุมชน ฝ่ายกิจการเพื่อสังคม บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) โดยใช้กรอบแนวการศึกษา ตามรูปแบบ CIPP Model กับรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้พลังงานชุมชนทั้ง 4 ภูมิภาค จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนา สถิติอนุมาน และพรรณาความ ผลการศึกษาจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ...
  • Thumbnail

    การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนตามอนุสัญญาว่าด้วยการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในบริบทข้ามพรมแดน ค.ศ. 1991 

    สิทธิ หลีกภัย; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนตามอนุสัญญาว่าด้วยการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในบริบทข้ามพรมแดน ค.ศ. 1991 และ 2) ศึกษาแนวทางในการนำการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนตามอนุสัญญาว่าด้วยการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในบริบทข้ามพรมแดน ค.ศ. 1991 ไปใช้ในทางปฏิบัติ ในการศึกษาได้ใช้วิธีการเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และการพรรณนาตรรกะ (Logical Descriptive Analysis) โดยข้อมูลในการศึกษาชิ้นนี้คือข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) โดยศึกษาและเก็บข้อมูลจากตำรา บทความทางวิชาการ ...
  • Thumbnail

    การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (SEA) ของยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ : กรณีศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี 

    จิรนนท์ พุทธา; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของจังหวัดกาญจนบุรี 2) เพื่อประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมจากทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ และ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการป้องกันและบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ 3 ทางเลือก ได้แก่ 1) คือ ไม่นำยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมาใช้ 2) คือ มีการนำยุทธศาสตร์บางยุทธศาสตร์มาใช้ และ 3) คือ นำยุทธศาสตร์ทั้งหมดมาใช้ การประเมินใช้กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น (Analytical Hierarchy Process: AHP) โดยการเปรียบเทียบระหว่างทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ทั้ง 3 ...
  • Thumbnail

    การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์: ทางเลือกในการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 

    เฉลิมวุฒิ อุตโน; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)

    การวิจัยนี้ศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย และกำหนดทางเลือกในการพัฒนาและประเมินผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม จากทางเลือกในการพัฒนาดังกล่าว เพื่อเสนอทางเลือกในการพัฒ นาที่จะส่งผลด้านลบน้อยที่สุด แต่มีผลด้านบวกมากที่สุดต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการป้องกันและบรรเทาผล ด้านลบจากทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ 3 ทางเลือก ได้แก่1) ไม่มีการนำยุทธศาสตร์การพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษมาใช้ 2) มีการนํายุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษบางยุทธศาสตร์มาใช้ 3) มีการนำยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมดมาใช ...
  • Thumbnail

    การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 

    ดวงรัชนี เต็งสกุล; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมิบผลกระทบของแผบยุทธศาสตร์การพัฒณา เขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราช โดยใช้หลักการประเมินสิ่งแวคล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA) ประกอบการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเสนอแนวทางป้องกันหรือบรรเทาผลกระทบที่คาคว่จะเกิดขึ้น โดยการเปรียบเทียบทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์จาก 3 ทางเลือก ได้แก่ ทางเลือกที่ 1 ไม่นำยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษไปดำเนินการในพื้นที่ ทางเลือกที่ 2 นำยุทธศาสตร์ที่เสนอตามแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 3 ยุทธศาสตร์มาดำเนินการ และทางเลือกที่ 3 ...
  • Thumbnail

    การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด 

    เมวิกา คำแสนราช; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2019)

    งานศึกษาวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทางเลือกระดับยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน อ.คลองใหญ่ จ.ตราด 2) ประเมินผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ของทางเลือกดังกล่าว รวมทั้งเสนอแนะทางเลือกระดับยุทธศาสตร์ที่เหมาะสม โดยได้เสนอทางเลือกระดับยุทธศาสตร์ในการพัฒนา 3 ทางเลือก ได้แก่ ทางเลือก 1 มีการดำเนินการตามแผนและยุทธศาสตร์ทุกด้าน ประกอบด้วย 4 กิจการเป้าหมาย ทางเลือก 2 มุ่งเน้นการดำเนินการตามแผนและยุทธศาสตร์บางด้าน ประกอบด้วย 3 กิจการเป้าหมาย และทางเลือก 3 มุ่งเน้นการดำเนินการตามแผนและยุทธศาสตร์บางด้าน ประกอบด้วย 2 ...
  • Thumbnail

    การปรับตัวต่อผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่งขององค์การบริหารส่วนตำบลแหลมฟ้าผ่าและชุมชน อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ 

    ฉัตรกนก บุญญภิญโญ; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปิดรับ/ภาวะคุกคาม ความเสี่ยง และ ความอ่อนไหวต่อการกัดเซาะชายฝั่งและศึกษาผลของแผนงานและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหาร จัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้น เพื่อนำมาวิเคราะห์ความเปราะบางของพื้นที่และเสนอแนะแนวทางในการปรับตัวที่เหมาะสมขององค์การบริหารส่วนตำบลแหลมฟ้าผ่าและชุมชน เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์ผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนตำบล ผู้นำชุมชนและผูอ้ยู่อาศัยในชุมชนการเข้าร่วมการประชุมเพื่อวางแผนการดำ เนินการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ระหว่างองค์การบริหารส่วน ตำบลและชุมชน การสังเกตการณ์ในพื้นที่และการศึกษาเอกสารที ...
  • Thumbnail

    การพัฒนาตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและด้านการมีส่วนร่วมและการพัฒนาชุมชน ตามมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม ของภาคอุตสาหกรรมไทย 

    พนิดา ชลังสุทธิ์; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม และด้านการมีส่วนร่วมและการพัฒนาชุมชน ตามมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคอุตสาหกรรมไทย โดยศึกษาองค์ประกอบร่วมด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ และทดสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดของตัวชี้วัดที่สร้างขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน กลุ่มตัวอย่างคือ คณะทำงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในสถานประกอบการจำนวน 874 คน ของโรงงานอุตสาหกรรมที่เข้าร่วมโครงการความรับผิดชอบต่อสังคมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (CSR-DIW) ตั้งแต่ปี 2551-2557 สร้างกรอบแนวคิดโดยใช้แนวคิดการพัฒน ...
  • Thumbnail

    การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนแม่บทการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จังหวัดปทุมธานี 

    ปัณณพัฒน์ ฤทธิ์เรืองเดช; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาในการจัดการขยะของจังหวัดปทุมธานี รวมถึงปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชน 2) ศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ จัดทําแผนแม่บทการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จังหวัดปทุมธานี 3) ศึกษาปัจจัยที่มีผล ต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน 4) เสนอแนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการจัดทําแผนแม่บทการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จังหวัดปทุมธานีเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาด้านการจัดการขยะใน จังหวัดปทุมธานีอยู่ในระดับสูง เนื่องจากจังหวัดปทุมธานีม ...
  • Thumbnail

    การวิเคราะห์การจัดการขยะมูลฝอยและยุทธศาสตร์สาหรับกรุงเทพมหานคร 

    ปาลิกา วรรณวิไล; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    การจัดการขยะมูลฝอยของกรุงเทพมหานครยังพบปัญหาอุปสรรคหลายประการ และในปี 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้กําหนดให้การจัดการขยะเป็นวาระแห่งชาติที่ต้อง ดําเนินการอย่างเร่งด่วน ผู้วิจัยจึงทําการศึกษาสถานการณ์และปัญหาการจัดการขยะขากบริบทเดิม ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) ด้วยวิธีการศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิและเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง แล้วทําการวิเคราะห์ช่องว่างทางกลยุทธ์ (Gap Analysis) และประเมิน สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร (SWOT Analysis) เพื่อนําไปสู่การจัดทํา ยุทธศาสตร์การจัดการขยะตามมิติของหลักการ Balanced Scorecard (BSC
  • Thumbnail

    ประสิทธิภาพในการสื่อสารของป้ายดิจิตัลแสดงคุณภาพอากาศบริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง 

    เวสารัช วรุตมะพงศ์พันธุ์; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020)

    การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross sectional study) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการสื่อสารของป้ายดิจิตัลแสดงคุณภาพอากาศบริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับประชาชน จำนวน 390 ตัวอย่าง ในพื้นที่ตำบลห้วยโป่ง ตำบลมาบตาพุด  และตำบลบ้านฉาง จังหวัดระยอง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาด้วยค่าความถี่  ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และพิสูจน์สมมติฐานด้วย ANOVA t-Test และ Pearson Correlation ผลการศึกษาเชิงพรรณนาพบว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย  ร้อยละ 57  อายุระหว่าง 26-35 ปี  ร้อยละ 33.3 สถานภาพสมรส ร้อยละ ...
  • Thumbnail

    ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับของประชาชนต่อโครงการโรงกำจัดขยะผลิตไฟฟ้าเพื่อสิ่งแวดล้อม หนองแขม กรุงเทพมหานคร 

    กรองเพชร ธนิทยรัตน์; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2019)

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการสร้างการยอมรับของประชาชนต่อการดำเนินโครงการโรงกำจัดขยะผลิตไฟฟ้าเพื่อสิ่งแวดล้อม หนองแขม กรุงเทพมหานคร และเพื่อเสนอแนะแนวทางการสร้างการยอมรับของประชาชนในการดำเนินการโครงการกำจัดขยะเพื่อผลิตพลังงาน โดยใช้ CIPP-I model ในการประเมินผลความสำเร็จ และใช้ SWOT Analysis ค้นหาปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลต่อการยอมรับของประชาชนต่อโครงการ การวิจัยดำเนินการโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่าง ๆ และการสัมภาษณ์จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร ...
  • Thumbnail

    แนวทางการพัฒนาบริษัทเข้าสู่อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว : กรณีศึกษา บริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ (1991) จำกัด (มหาชน) 

    พัสพงศ์ เอี่ยมสุภาษิต; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)

    งานวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบริษัทให้ได้มาตรฐานอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 โดยวิธีการวิเคราะห์หาช่องว่าง (Gap Analysis) การนำเกณฑ์กำหนดของอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 ตามข้อกำหนดของกระทรวงอุตสาหกรรม มาเปรียบเทียบกับการดำเนินงานด้านอุตสาหกรรมสีเขียวของบริษัทที่ได้ดำเนินการสำเร็จในปัจจุบัน เพื่อวิเคราะห์หาช่องว่างที่เกิดขึ้น  และนำเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งการศึกษาจะทำการเก็บข้อมูล การทบทวนเอกสาร การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์ สำหรับผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย  ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐและท้องถิ่น ...
  • Thumbnail

    แนวทางการพัฒนาปรับปรุงศูนย์ศึกษาธรรมชาตินิเวศชายเลนเกาะธรรมชาติเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ระบบนิเวศอย่างยั่งยืน 

    ภัทราพร เปรมประเสริฐ; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความเป็นมา สภาพทางกายภาพ และการ บริหารจัดการของศูนย์ศึกษาธรรมชาตินิเวศชายเลนเกาะธรรมชาติ ตำบลท่าข้าม อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) เพื่อวิเคราะห์และประเมินในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และการ บริหารจัดการ ของศูนย์ศึกษาธรรมชาตินิเวศชายเลนเกาะธรรมชาติ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการ พัฒนาปรับปรุงภูมิสถาปัตยกรรม และการบริหารจัดการศูนย์ศึกษาธรรมชาตินิเวศชายเลนเกาะ ธรรมชาติ ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ระบบนิเวศและการอนุรักษ์ป่าชายเลนอย่างยั่งยืนเก็บรวบรวม ข้อมูลโดยการสังเกตการณ์ ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ...
  • Thumbnail

    แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อหาพื้นที่เสี่ยงของการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกตามปัจจัยด้านภูมิอากาศ 

    ณัฏฐ์อริญ เดชะศิริพงษ์; จำลอง โพธิ์บุญ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกเพื่อสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์แสดงความสัมพันธ์ของของปัจจัยด้านภูมิอากาศที่มีต่อการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก และวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกตามการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยด้านภูมิอากาศ ซึ่งประกอบด้วยอุณหภูมิ ปริมาณน้ำฝน และความชื้นสัมพัทธ์ วิธีการศึกษาและผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้