Browsing by Author "บุษยา วีรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา"
Now showing items 1-4 of 4
-
การจัดการคุณภาพชีวิตการทำงานในบริษัทที่ได้รับรางวัลจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทางด้านผลการดำเนินงานยอดเยี่ยมประจำปี 2008 และบริษัทที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทำงานจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
เกษศิรินทร์ ไชยสงคราม; บุษยา วีรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010)
งานวิจัยนี้ศึกษาการจัดการคุณภาพชีวิตการทํางานในองค์การธุรกิจของไทยโดยเลือกศึกษาองค์การธุรกิจจํานวนสองกลุ่ม ได้แก่ (1) บริษัทที่ได้รับรางวัลจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทางด้านผลการดําเนินงานยอดเยี่ยม จํานวนสี่องค์การ และ (2) บริษัทที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ระบบการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทํางานจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จํานวนสี่องค์การ การเก็บรวบรวมข้อมูลทําโดยการสัมภาษณ์การศึกษาเอกสารและเว็บไซต์ของบริษัท ผล การศึกษาพบว่าองค์การทั้งสองกลุ่มมีการจัดการคุณภาพชีวิตการทํางานที่สอดคล้องกับคํานิยาม และองค์ประกอบของคุณภาพชีวิตการทํางานในบริบทขอ ... -
การวางแผนการเงินเพื่อเตรียมการเกษียณอายุงาน : ศึกษากรณีกรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
วินิจ เจนนพกาญจน์; บุษยา วีรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1997) -
พฤติกรรมของผู้นำและสภาพแวดล้อมการทำงานที่ส่งผลต่อความสร้างสรรค์ในงานของบุคลากร : กรณีศึกษาองค์การธุรกิจไทยที่มีนวัตกรรมยอดเยี่ยมปี 2009
ศิวพร โปรยานนท์; บุษยา วีรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับของพฤติกรรมของผู้นำสภาพแวดล้อม การทำงาน และความสร้างสรรค์ในงานของบุคลากรองค์การธุรกิจไทยที่ได้รับรางวัลองค์การที่ มีนวัตกรรมยอดเยี่ยมปี 2552 (2) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของผู้นำ สภาพแวดล้อม การทำงานกับความสร้างสรรค์ในงานของบุคลากร และ (3) อิทธิพลของพฤติกรรมของผู้นำ และ สภาพแวดล้อมการทำงานที่มีต่อความสร้างสรรค์ในงานของบุคลากร การศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรของบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ... -
ระบบค่าตอบแทนในธุรกิจไทย : ผลกระทบต่อผลลัพธ์ระดับบุคคล
สโรธร ปุษปาคม; บุษยา วีรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2007)
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการออกแบบระบบค่าตอบแทนใน ธุรกจไทยที่มีต่อผลลัพธ์ระดับบุคคล และความพึงพอใจในค่าตอบแทน ตลอดจนศึกษา ผลกระทบของความพึงพอใจในค่าตอบแทนที่มีต่อผลลัพธ์ระดับบุคคล โดยเก็บข้อมูลด้วย แบบสอบถามที่จัดส่งให้แก่ผู้บริหารฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ขององค์การที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจำนวน 527 องค์การมีอัตราการตอบกลับแบบสอบถามที่ใช้ได้ คิดเป็นร้อยละ 20.68 ผลการศึกษาพบว่าการออกแบบระบบค่าตอบแทนที่คำนึงถึงความเสมอภาคภายใน ความเสมอภาคภายนอก และความเสมอภาคระหว่างบุคคลมีผลต่อผลลัพธ์ระดบบุคคล ความพึงพอใจในงาน ...