Browsing by Author "บุหงา ชัยสุวรรณ"
Now showing items 1-20 of 24
-
THE DRIVING OF SELF-REGULATORY MECHANISMS OF THE ADVERTISING PROFESSION IN THAILAND
Nichakhun Tuwaphalangkun; นิชคุณ ตุวพลางกูร; Bu-nga Chaisuwan; บุหงา ชัยสุวรรณ; National Institute of Development Administration. The Graduate School of Communication Arts and Management Innovation; Bu-nga Chaisuwan; บุหงา ชัยสุวรรณ (National Institute of Development Administration, 7/1/2022)
The research is aimed 1) to study the driving of self-regulatory mechanisms of the advertising profession in successful countries, 2) to explore the driving of self-regulatory mechanisms of the advertising profession in Thailand, and 3) to examine guidelines for solving problems and obstacles for the driving of self-regulatory mechanisms of the advertising profession in Thailand. The study was divided into two parts: Part 1: The study on the driving of self-regulatory mechanisms of the advertising profession in successful countries was conducted ... -
กระบวนการสร้างตราสินค้าและการสื่อสารการตลาดออนไลน์สินค้าเกษตรอินทรีย์ ของ Smart Farmer
สุรชัย ศรีนรจันทร์; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
สื่อมีอิทธิพลต่อการกระจายข้อมูลข่าวสารในโลคยุคของการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว โดยการตลาดการเกษตรเป็นประเด็นสำคัญที่ต้องพึ่งพาสื่อเหล่านั้น การวิจัยนี้จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ในการกระตุ้นให้เกษตรกร หันมาใช้สื่อออนไลน์มากขึ้น ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นในการศึกษากระบวนการสร้างตราสินค้า ช่องทางการสื่อสารออนไลน์สินค้าเกษตรอินทรีย์ รวมไปถึงความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อสินค้าเกษตรอินทรีย์ จากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรปราดเปรื่อง 3 ตราสินค้าที่ได้รางวัล “เกษตรกรรักบ้านเกิด” จำนวน 3 คน ใน 3 จังหวัด คือ เชียงราย นครราชสีมา และราชบุรี โดยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถาม ... -
กระบวนการสื่อสารและการสร้างการยอมรับการแพทย์แผนไทย
กฤษฎา มอมุงคุณ; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
การศึกษาวิจัยเรื่อง กระบวนการสื่อสารและการสร้างการยอมรับการแพทย์แผนไทย มีวัตถุประสงค์การ วิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาวางแผนการสื่อสารการแพทย์แผนไทย 2) เพื่อศึกษากระบวนการสร้างการยอมรับ การแพทย์แผนไทย โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้วิธีการเก็บข้อมูล ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) ผู้ประกอบการแห่งละ 1 คน จาก 3 องค์กร ได้แก่ โกมารภัจจ์สหคลินิก, บริษัท กาโนเอ็กเซลเอ็นเตอร์ไพร์ส (ประเทศไทย) จำกัด และโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์แบบผสมผสานด้านโรคมะเร็งสกลนคร(วัดคำประมง) พร้อมด้วยผู้มารับบริการท ... -
การตลาดเชิงประสบการณ์กับความภักดีของผู้บริโภคในการชมการแสดงทอล์คโชว์
ชัชชพันธ์ เล็กเจริญ; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทัศนคติที่มีต่อการตลาดเชิงประสบการณ์ของผู้บริโภคที่เข้าชมการแสดงทอล์คโชว์ 2) เพื่อศึกษาความภักดีของผู้บริโภคที่เข้าชมการแสดงทอล์คโชว์และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และอำนาจในการพยากรณ์ระหว่างทัศนคติที่มีต่อการตลาดเชิงประสบการณ์กับความภักดีของผู้บริโภคที่เข้าชมการแสดงทอล์คโชว์ โดยมีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิจัยจากกลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีประสบการณ์ในการเข้าร่วมชมการแสดงทอล์คโชว์ของนักแสดงท่านใดท่านหนึ่งอย่างน้อย 2 ครั้ง จำนวน 406 คน ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ผู้บริโภคที่เข้าชมการแสดงทอล์คโชว์ ... -
การตอบสนองของผู้บริโภคที่มีต่อการตลาดแบบไวรัล เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ส เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวาย
พรจันทร์ วงค์คุ้มสิน; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาการตอบสนองของผู้บริโภคที่มีต่อการตลาดแบบไวรัส (Viral Marketing) โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาดังต่อไปนี้ 1. เพื่อศึกษาการเปิ ดรับสื่อ Viral Marketing ของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์ส เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวาย 2. เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์ส เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวายที่มีต่อ Viral Marketing 3. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์ส เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวายที่มีต่อ Viral Marketing 4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิ ดรับสื่อ ทัศนคติ ... -
การยอมรับสื่อหลอมรวมและการตอบสนองต่อโฆษณา
อังคณา จงไทย; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ มุ่งศึกษาระดับ การยอมรับสื่อหลอมรวม, การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้ความง่ายในการใช้สื่อหลอมรวม ตลอดจนศีกษาถึง การตอบสนองของผู้บริโภคต่อ โฆษณาสื่อหลอมรวม โดยครอบคลุมสื่อหลักทั้งหมด 3 สื่อได้แก่ โทรทัศน์ วิทยุ และ หนังสือพิมพ์ที่มี การหลอมรวมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตด้วยรูปแบบการออนไลน์ ทำการศึกษาโดยการ วิจัยเชิงสำรวจ จากกลุ่มผู้ที่มีการใช้สื่อหลอมรวม จำนวน 400 ตัวอย่าง -
การเสริมสร้างรูปแบบการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก
ภพพรหมินทร์ วโรตม์วัฒนานนท์; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการของการรู้เท่าทันสื่อ กระบวนการ เสริมสร้างการรู้เท่าทนั สื่อ และปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก -
ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร : การรับรู้คุณภาพการบริการภาพลักษณ์องค์กร ความไว้วางใจ และพฤติกรรมของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี
วรมน บุญศาสตร์; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
- -
ความรู้สึกถึงความเป็นชุมชนของกลุ่มผู้เล่นโปเกม่อน โกในสังคมไทย
พศิน เหล่าแสงธรรม; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของผู้เล่นเกมโปเกม่อน โกในสังคมไทย 2) เพื่อศึกษาความรู้สึกถึงความเป็นชุมชนและพฤติกรรมการเล่นของผู้เล่นเกมโปเกม่อน โกในสังคมไทย 3) เพื่อศึกษาความแตกต่างของพฤติกรรมการเล่นเกมโปเกม่อน โก ของผู้เล่นที่มีลักษณะประชากรที่แตกต่างกัน และ 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความรู้สึกถึงความเป็นชุมชน และพฤติกรรมการเล่นของผู้เล่นโปเกม่อน โกในสังคมไทย โดยงานวิจัยดังกล่าวใช้วิธีการศึกษาเชิงผสมผสาน ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้เล่นโปเกม่อน โก 30 คน และการวิจัยเชิงสำรวจด้วยแบบสอบถามกับกลุ่มผู้เล่นโปเกม่อน ... -
ความสัมพันธ์ระหว่างความมีนวัตกรรมของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการชมละครโทรทัศน์ออนไลน์ ที่มีต่อการยอมรับและการเป็นแฟนคลับละครผลิตซ้ำที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุค
วิขชุดา กิมอ่วม; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
- -
จริยธรรมนักข่าวพลเมืองในการนำเสนอข่าวเด็กผ่านสื่อสังคมออนไลน์
เทียนทิพย์ เดียวกี่; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาของการนำเสนอข่าวเด็กของนักข่าวพลเมืองในสื่อสังคมออนไลน์ 2) สร้างแนวทางจริยธรรมในการนำเสนอข่าวเด็กของนักข่าวพลเมืองในสื่อสังคมออนไลน์ที่เหมาะสม และ 3) ศึกษาแนวความคิดเห็นจากแนวทางจริยธรรมการนำเสนอข่าวเด็กของนักข่าวพลเมืองในสื่อสังคมออนไลน์ โดยเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods research) ซึ่งศึกษาจากเอกสาร และการให้ข้อมูลของผู้ให้ข้อมูลหลัก โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จำนวน 16 คน แบ่งออกเป็นตัวแทนนักข่าวพลเมือง 4 คน ตัวแทนกลุ่มนักข่าววิชาชีพ จำนวน 4 คน ตัวแทนกลุ่มนักวิชาการด้ ... -
ทัศนคติ การรู้เท่าทันสื่อ และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณา ออนไลน์
นิฤมล หิรัญวิจิตรภรณ์; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ 1. เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อ โฆษณาออนไลน์ 2. เพื่อศึกษาการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาออนไลน์ของผู้บริโภค และ3. เพื่อศึกษา พฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาออนไลน์ของผู้บริโภค โดยเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ( Quantitative Research) ใช้การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research Method) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) รวบรวมจากกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ที่มีช่วงอายุ ระหว่าง 18-68 ปี ซึ่งแบ่งกลุ่มตัวอย่างตามทฤษฎีเจเนอร์เรชั่น ได้แก่กลุ่มเบบี้บูมเมอร์ อายุระหว่าง 50-68 ปี เจเนอร์ เรชั่นเอ็กซ์ ... -
ทัศนคติ พฤติกรรม และความคล่องดิจิทัลของกลุ่มดิจิทัลเนทีฟ
ศุภกร จูฑะพล; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การวิจัยครั้ง นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทัศนคติต่อการดำเนินชีวิต พฤติกรรมการ ดำเนินชีวิต และความคล่องดิจิทัลของกลุ่มดิจิทัลเนทีฟ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของทัศนคติ ต่อการดำเนินชีวิต และพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่มีต่อความคล่องดิจิทัลของกลุ่มดิจิทัลเนทีฟ และ 3) เพื่อศึกษาตัวแปรที่เป็นปัจจัยพยากรณ์ความคล่องดิจิทัล งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาวิจัย เชิงปริมาณ โดยการใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างดิจิทัลเนทีฟ ผู้มีอายุ 15-24 ปี และมีประสบการณ์ในการใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ต่ำกว่า 5 ปี ในเขต กรุงเทพมหานคร จำนวน 402 คน ... -
แนวทางการคิดสร้างสรรค์โฆษณาในสื่อดิจิทัล
พิชญา นิวิตานนท์; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
ปัจจุบันการสื่อสารก้าวสู่สื่อดิจิทัลทาให้นักสร้างสรรค์โฆษณาในสื่อดิจิทัลต้องปรับตัวให้เข้า กับยุคสื่อที่เปลี่ยนแปลง งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาวิธีการคิดสร้างสรรค์โฆษณา กระบวนการคิดสร้างสรรค์โฆษณา และปัจจัยที่มีผลต่อความคิดสร้างสรรค์โฆษณาของนักสร้างสรรค์ -
แนวทางการนำเสนอเรื่องเพศ ภาษา ความรุนแรง และภาพตัวแทนในรายการเกมโชว์ทางโทรทัศน์ดิจิทัล
น้ำทิพย์ พรหมเพ็ชร; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเนื้อหาการนำเสนอเรื่องเพศ ภาษา ความรุนแรง และภาพตัวแทนในรายการเกมโชว์ทางโทรทัศน์ดิจิทัล โดยวิเคราะห์เนื้อหาจากรายการเกมโชว์ทั้งหมด 9 รายการ จากช่องโทรทัศน์ยอดนิยม 3 อันดับแรก (ช่อง 7 HD, ช่อง 3 HD และWorkpoint)และสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้ผลิตรายการโทรทัศน์, กลุ่มนักวิชาการ/ประชาสังคม และผู้กำกับดูแลการจัดระดับความเหมาะสมและกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ เพื่อหาแนวทางการนำเสนอเนื้อหารายการเกมโชว์ที่เหมาะสมกับผู้ชมทุกวัยซึ่งปรากฏผลการวิจัย ดังนี้ 1. เนื้อหาที่เข้าข่ายไม่เหมาะสมที่สุดในรายการเกมโชว์ทางโทรทัศน์ดิจิทัล ... -
แนวโน้มนวัตกรรมการสื่อสารการตลาดเพื่อส่งเสริมสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ระหว่างปี พ.ศ. 2558 - 2567
กนกพร ดิษริยะกุล; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสม (Mixed Method) โดยใช้เทคนิคการวิจัยอนาคต (Futures Research) แบบเดลฟาย (Delphi Technique) มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาแนวโน้ม นวัตกรรมการสื่อสารการตลาดเพื่อส่งเสริมสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ระหว่างปี พ.ศ. 2558 - 2567 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มนักการตลาดและนักสื่อสารการตลาด ที่ปฏิบัติงานภายในองค์กร หน่วยงาน และบริษัท ที่มีแนวทางการดาเนินการธุรกิจเกี่ยวกับการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งสิ้นจา นวน 17 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจา นวน 3 รอบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ... -
ปัจจัยด้านการยอมรับและปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์กับพฤติกรรมการซื้อ
ปัทมา แย้มไพเราะ; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
- -
ปัจจัยพยากรณ์การใช้งานการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
วิภาวี จันทร์แก้ว; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแรงสนับสนุนทางสังคม โครงสร้างการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ การรับรู้ความเสี่ยง ความไว้วางใจ ความกังวลความเป็นส่วนตัว การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว และความตั้งใจใช้งานการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคม โครงสร้างการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ การรับรู้ความเสี่ยง ความไว้วางใจ ความกังวลความเป็นส่วนตัว การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว และความตั้งใจใช้งานการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 3) เพื่อศึกษาตัวแปรที่มีประสิทธิภาพในการอธิบายหรือพยากรณ์ความตั้งใจใช้ ... -
ผลกระทบจากโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊กและแนวทางการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊ก
ณพล ผลากรกุล; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
- -
พฤติกรรมการเปิดรับสื่อ และพฤติกรรมการบริโภคสินค้า ที่เกี่ยวข้องกับภาพยนตร์แอนิเมชั่นของกลุ่มโอตาคุ
นภัค จิตศานติกุล; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการเปิดรับสื่อและการบริโภคสินค้าที่เกี่ยวข้องกับภาพยนตร์แอนิ เมชั่นของกลุ่มโอตาคุ” มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ ได้แก่ (1) เพื่อศึกษาการเปิดรับสื่อภาพยนตร์แอนิเมชั่น ของกลุ่มโอตาคุ (2) เพื่อศึกษาการบริโภคสินค้าที่เกี่ยวข้องกับภาพยนตร์แอนิเมชั่นของกลุ่มโอตาคุ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้รูปแบบการวิจัย 3 รูปแบบประกอบกันคือ (1) การสังเกต (Observation) โดยสังเกตในฐานะผู้สังเกตอย่างไม่ได้มีส่วน ร่วมโดยสมบูรณ์ในงาน Thailand Comic Con 2014 ซึ่งจัดขึ้นที่สยามพารากอน ระหว่างวันที่ 9-11 พฤษภาคม ...