Browsing by Author "ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา"
Now showing items 1-20 of 23
-
กระบวนการคัดค้านโครงการก่อสร้างทางด่วนขั้นที่ 2 (อุรุพงษ์-ราชดำริ) ของชุมชนบ้านครัว
ชลิดา ทาเจริญศักดิ์; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1996) -
การนำนโยบายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติ : ศึกษากรณีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จินตนา สิงหเทพ; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1997)
การศึกษาการนำนโยบายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติ ศึกษากรณีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา ผลสำเร็จและล้มเหลวของการนำนโยบายไปปฏิบัติ โดย ศึกษาถึงกระบวนการเกี่ยวกับความชัดเจนในวัตถุประสงค์ของนโยบาย การกำหนดกิจกรรมและการมอบหมายงาน มาตรการควบคุมและประเมินผล การสนับสนุนจากส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น และโครงสร้างขององค์กรและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย ตลอดจน เพื่อใช้เสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการในนโยบายด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ต่อพื้นที่ที่ศึกษา โดยทำการศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิและจากการสัมภา ... -
การพัฒนานโยบายเกี่ยวกับการทำแท้งในสังคมไทย
สุจริต จิตตะมาลา; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1997) -
การยอมรับทางสังคมของคนพิการ : ศึกษากรณีศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพของภาครัฐและเอกชน
ฐิติมา กุลอัชชะกิจ; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2000) -
การศึกษากลุ่มการเมืองในระบบพรรคการเมืองไทย
นิรุจน์ ขำนุรักษ์; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2000) -
การศึกษาวิถีชีวิตชาวพม่าที่หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายในจังหวัดระนอง
ลือชัย วงษ์ทอง; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1996)
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ ประการแรก เพื่อที่จะทราบถึงปัจจัยสำคัญที่มีผลต่การอพยพวิธีการติดต่อ การลักลอบเข้าเมืองของชาวพม่าที่หลบหนี้เข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย ประการที่สอง เพื่อศึกษาพฤติกรรมทางด้านเศรษฐกิจของชาวพม่าที่หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดฎหมายว่ามีการดำเนินการวิถีชิวิตอยู่ในสภาพอย่างไร ได้แก่ค่าจ้าง การใช้จ่าย การเก็บออม ประการที่สาม เพื่อศึกษาพฤติกรรมทางสังคม-วัฒนธรรม ของชาวพม่าที่หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายว่ามีการดำเนินชีวิตอยู่ในสภาพอย่างไร การเก็บรวมรวบข้อมูล ใช้การสัมภาษณ์โดยมีล่ามชาวพม่าที่พูดภาษาไทยได้เป็นผู้แปลใช้วิ ... -
ความพึงพอใจของผู้ประกันตนที่มีต่อบริการทางการแพทย์ภายใต้พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 : ศึกษากรณีประกันอันตรายหรือเจ็บป่วยอันมิใช่เนื่องจากการทำงานในจังหวัดสระบุรี
ประนัดดา จ่างแก้ว; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รัตตัญญู เทียนปฐม; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ความพึงพอใจในงานของเจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชนที่ปฏิบัติงานทางด้านเด็ก พัฒนาชุมชนเมือง และพัฒนาชนบท
สุรพงษ์ กองจันทึก; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ความพึงพอใจในงานของเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล : ศึกษาเปรียบเทียบโรงพยาบาลสระบุรีและโรงพยาบาลพระพุทธบาท
ธนพรรณ รุ่งโรจน์ดี; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ความรู้ความเข้าใจในระเบียบข้อบังคับว่าด้วยเรื่องวินัยของพนักงานรัฐวิสาหกิจ : ศึกษาเฉพาะกรณีการประปาส่วนภูมิภาคสังกัดสำนักงานใหญ่
กิตติวไล บัววัฒนา; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1998)
การศึกษาเรื่องนี้เพื่อทราบวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจในระเบียบข้อบังคับว่าด้วยเรื่องวินัยของพนักงานการประปาส่วนภูมิภาค (2) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความรู้ ความเข้าใจระเบียบข้อบังคับว่าด้วยเรื่องวินัยของพนักงานการประปาส่วนภูมิภาค (3) เพื่อทราบถึงปัญหาอุปสรรคของพนักงานการประปาส่วนภูมิภาคเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจในระเบียบข้อบังคับว่าด้วยเรื่องวินัย กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ พนักงานการประปาส่วนภูมิภาค ที่ดำรงตำแหน่งระดับชั้น 1-7 ตามหน่วยงานต่าง ๆ ที่สังกัดสำนักงานใหญ่ จำนวน 363 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเค ... -
ความรู้สึกมีประสิทธิภาพทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดนครราชสีมา
ศิริกุล ลือกิติไกร; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1998)
การศึกษาครั้งนี้ได้รับแรงบันดาลใจจากเหตุการณ์เรียกร้องทางการเมืองพฤษภาทมิฬ 2535 ซึ่งผู้ศึกษามีความสนใจว่า ปัจจัยใดที่ทำให้ประชาชนหลายสาขาอาชีพ เข้าร่วมทางการเมืองในเหตุการณ์ดังกล่าวอย่างสูงแล้วกลับลดบทบาทลงในเวลาต่อมา โดยในการวิจัยครั้งนี้เป็นความพยายามใช้วิธีวิทยการวิจัยเชิงประมาณเพื่อศึกษาพฤติกรรมทางการเมือง คือ การมีส่วนร่วมทางการเมือง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง ความรู้สึกมีประสิทธิภาพทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง นอกจากนี้ยังได้นำสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมและความ ... -
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับจิตวิญญาณนักประกอบการกับความมั่นคงทางเศรษฐกิจ : ศึกษากรณีอำเภอราชสาส์น จังหวัดฉะเชิงเทรา
มณฑป เอกสิงหชัย; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับจิตวิญญาณนักประกอบการกับสภาพชีวิตในชุมชน : ศึกษากรณีอำเภอราชสาส์น จังหวัดฉะเชิงเทรา
สมลักษณ์ บุนนาค; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ทัศนคติของประชาชนต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดแม่ฮ่องสอน
วิจิตรา ชัยศรี; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1994)
เป็นการศึกษาถึงปัจจัยด้านอายุ อาชีพ การเป็นสมาชิกกลุ่ม/ชมรม และภูมิลำเนาเดิมที่แตกต่างกันว่า จะมีอิทธิพลต่อความคิดเห็นในผลกระทบมิติต่าง ๆ คือ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมตามประเพณี การศึกษาในเรื่องนี้ได้ทำการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างกับหัวหน้าครัวเรือน จำนวน 162 ครัวเรือน ในเขตอำเภอเมือง จำนวน 3 ตำบล 5 หมู่บ้าน ที่อยู่ในแหล่งท่องเที่ยว นอกจากนั้นยังได้ทำการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้นำท้องถิ่น เพื่อที่จะทราบถึงผลกระทบของการพัฒนาการท่องเที่ยว. -
ทัศนคติของพระสงฆ์ต่อบทบาทการพัฒนาสังคม
พระมหากฤษฎา นันทเพชร; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1997)
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ ประการแรก เพื่อศึกษาถึงทัศนคติของพระสงฆ์ผู้ได้รับการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ที่มีต่อบทบาทการพัฒนาสังคม ประการที่สอง เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทัศนคติของพระสงฆ์ ที่ได้รับการศึกษาในระดับปริญญาตรี ประการที่สาม เพื่อศึกษาถึงบทบาทในการพัฒนาสังคมด้านต่าง ๆ ของพระสงฆ์ผู้ได้รับการศึกษาในระดับปริญญาตรีในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบบบังเอิญ จากกลุ่มพระสงฆ์ที่เรียนบาลีเปรียญธรรมเก้าประโยค ในโรงเรียนพระปรัยัติธรรมของคณะสงฆ์ส่วนกลาง วัดสามพระยา ... -
บทบาทที่คาดหวังและบทบาทที่ปฏิบัติจริงของคณะทำงานศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดจันทบุรี
อนุกูล รอดเนียม; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1997) -
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชน อายุ 18-20 ปี : ศึกษากรณีอำเภอสีคิ้วจังหวัดนครราชสีมา
วัชรี ด่านกุล; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1998)
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1. เพื่อศึกษาถึงระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชน 2. เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชน 3. เพื่อศึกษาถึงลำดับความสำคัญของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชน ผู้วิจัยได้ทำการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่เป็นเยาวชนทั้งชายและหญิง อายุ 18-20 ปี ตำบลสีคิ้ว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 220 คน (ชาย 114 คน, หญิง 106 คน) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยประชากร ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ... -
ปัญหาการนำนโยบายของผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวพม่าไปปฏิบัติในจังหวัดระนอง
เจตน์ ธนวัฒน์; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1996)
การศึกษาเรื่องปัญหาการนำนโยบายของผู้หลบหนีเข้าเมืองไปปฏิบัติในจังหวัดระนอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสาระสำคัญของนโยบายและมาตรการปฏิบัติของรัฐบาลไทยที่มีต่อผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมายในภาพรวม ตั้งแต่ปี 2524-2539 และเพื่อศึกษาถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการนำนโยบายแก้ไขปัญหาแรงงานสัญชาติพม่าที่หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2535 ไปปฏิบัติจนถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2539 ผู้ศึกษาใช้วิธีการศึกษาโดยแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ การวิจัยเอกสารโดยรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ บทความ กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ หนังสือสั่งกา ... -
วัฒนธรรมอำนาจนิยมของชนชั้นกลางในกรุงเทพมหานคร : ศึกษากรณีวัฒนธรรมการใช้อำนาจ
ประภัสร์ เมธีพงศ์ชัย; ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1999)