Browsing by Author "รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา"
Now showing items 1-14 of 14
-
การมีส่วนร่วมของสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุจังหวัดเลย
อุษา ศาสตร์ภักดี; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1993)
การศึกษานี้มุ่งวิเคราะห์ 1) ลักษณะทั่วไป 2) ระดับการมีส่วนร่วมของสมาชิกผู้สูงอายุ 3) ระดับปัจจัยที่คาดว่าจะมีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่คาดว่าจะมีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุกับการมีส่วนร่วมของสมาชิกผู้สูงอายุ 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะเพื่อนำมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุต่อไป. -
การยอมรับบทบาทพัฒนากรเขตชานเมือง : ศึกษาเปรียบเทียบการคาดหวังบทบาทพัฒนากรโดยพัฒนากร และโดยคณะกรรมการสภาตำบล
เกศรา อดุลยพิจิตร; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1991)
การศึกษานี้ มุ่งวิเคราะห์การยอมรับ "บทบาท" พัฒนากรใน 3 ประเด็นคือ คุณสมบัติ หน้าที่ และสิทธิของพัฒนากร โดยวิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) และวิธีการทางสถิติวิเคราะห์ เปรียบเทียบ 1) การคาดหวังบทบาทพัฒนากร โดยพัฒนากร และโดยคณะกรรมการสภาตำบล 2) การคาดหวังบทบาทพัฒนากร โดยพัฒนากร และโดยคณะกรรมการสภาตำบลในทัศนะของพัฒนากร ผู้ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการคาดหวังบทบาทจากกลุ่มตัวอย่างพัฒนากร ในเขตจังหวัดชานเมือง ที่จังหวัดนนทบุรี และนอกเขตจังหวัดชานเมือง ที่จังหวัดอ่างทอง และกลุ่มตัวอย่างคณะกรรมการสภาตำบล ในเขตจังหวัดชานเมือง ที่ตำบลบางสีทอง ... -
การใช้ระบบข้อมูล กชช. ในการวางแผนพัฒนาชนบทระดับจังหวัด : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดนครราชสีมา, จังหวัดหนองคาย, จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดอุบลราชธานี
อุทุมพร ศิลปนุรักษ์; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1991)
การศึกษาเรื่องนี้เป็นการศึกษาถึงประเภทข้อมูล กชช. และปัจจัยที่มีแนวโน้มจะก่อให้เกิดการใช้ระบบข้อมูล กชช. ในขั้นตอนการกำหนดกรอบนโยบายจังหวัดและขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาชนบทประจำปีระดับจังหวัด ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการวางแผนพัฒนาชนบทระดับจังหวัด ปัญหาอุปสรรคในการใช้ระบบข้อมูล กชช. ในการวางแผนพัฒนาชนบทระดับจังหวัด ตลอดจนความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการปรับปรุงการใช้ระบบข้อมูล กชช. ในการวางแผนพัฒนาชนบทระดับจังหวัด โดยทำการศึกษาเฉพาะกรณีการวางแผนพัฒนาชนบทระดับจังหวัดประจำปี 2535 ของเจ้าหน้าที่ฝ่ายแผนของหน่วยงานหลักในระดับจังหวัด 5 หน่วยงาน คือ ... -
การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาล : กรณีศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช พิษณุโลก
เรณูวรรณ หาญวาฤทธิ์; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของอาจารย์สถาบันราชภัฏอุดรธานี
สุหัทยา โชติมานุกูล; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรของผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร
ผาชัย โปรียานนท์; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ทัศนคติของพัฒนากรต่อนโยบายการจัดตั้งศูนย์สาธิตการตลาด : ศึกษากรณีศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชน เขตที่ 3
รุ่งนภา บุญคุ้ม; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1993)
การศึกษานี้มุ่งวิเคราะห์ (1) ทัศนคติของพัฒนากรต่อนโยบายการจัดตั้งศูนย์สาธิตฯ และ (2) ปัจจัยที่คาดว่าน่าจะมีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการจัดตั้งศูนย์สาธิตของพัฒนากร ได้แก่ 1) ความรู้ในนโยบายการจัดตั้งศูนย์สาธิตฯ 2) ความเข้าใจในนโยบายการจัดตั้งศูนย์สาธิตฯ 3) การได้รับการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา หน่วยในการวิเคราะห์คือ พัฒนากรที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เป้าหมาย คือ จังหวัดสุรินทร์ ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ ซึ่งถือเป็นตัวแทนของพัฒนากรที่ปฏิบัติงานในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ ศพช.เขตที่ 3 การรวบรวมข้อมูลใช้วิธีส่งแบบสอบถาม (mailed guestionnaires) ไปยังพัฒนากรกลุ่มเป้าหมาย ... -
ทัศนคติต่อการปฏิบัติงานในฐานะเลขานุการคณะทำงานสนับสนุนการปฏิบัติการพัฒนาชนบทระดับตำบล (คปต.) ของพัฒนากรจังหวัดเลย
ชัยวัฒน์ แสงศรี; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ประสิทธิภาพในการจัดทำแนวทางพัฒนาการเกษตรระดับตำบลตามโครงการปรับปรุงระบบแผนและพัฒนาเกษตรกร (คปพ.) ของเจ้าหน้าที่เกษตรตำบล : ศึกษาเฉพาะกรณีเจ้าหน้าที่เกษตรตำบล จังหวัดลำพูน
อารีนา พิชัยวัตต์; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1994)
การศึกษานี้มุ่งวิเคราะห์ (1) ประสิทธิภาพในการจัดทำแนวทางพัฒนาการเกษตรระดับตำบล จำแนกเป็น 2 มิติคือ 1. ความสามารถในการกำหนดสถานการณ์การผลิตทางการเกษตร และ 2. ความสามารถในการกำหนดแผนการเกษตร (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการจัดทำแนวทางพัฒนาการเกษตร ได้แก่ ความรู้ของเจ้าหน้าที่เกษตรตำบลเกี่ยวกับกระบวนการวิเคราะห์พื้นที่การเกษตรและเกษตรกร ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่เกษตรตำบลเกี่ยวกับกระบวนการวิเคราะห์พื้นที่การเกษตรและเกษตรกร และความสามารถของเจ้าหน้าที่เกษตรตำบลในการแก้ปัญหาการพัฒนาการเกษตร. -
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ (ฝ่ายกาย) สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ชนานุช ดิษฐเนตร; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1993) -
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการหมู่บ้าน : กรณีศึกษาหมู่บ้านสามทองและหมู่บ้านตลิ่งชัน อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
วนิดา ลิ้มจิตสมบูรณ์; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1993)
การศึกษานี้มุ่งวิเคราะห์ (1) ลักษณะทั่วไปของคณะกรรมการหมู่บ้านสามทองและคณะกรรมการหมู่บ้านตลิ่งชัน (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้ศึกษารวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ กม. หมู่บ้านสามทอง (64 คน) ซึ่งเป็นคณะกรรมการที่มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสูง และ กม. หมู่บ้านตลิ่งชัน (65 คน) ซึ่งเป็นคณะกรรมการหมู่บ้านที่มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานต่ำ ในตำบลตลิ่งชัน อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวนรวมทั้งสิ้น 129 คน ผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ... -
พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ
สมเจตน์ สดเอี่ยม; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
ภาวะผู้นำของคณะกรรมการพัฒนาสตรีตำบล (กพสต) : ศึกษาเฉพาะกรณีอำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา
พจนี พรหมจิตต์; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1993)
การศึกษานี้มุ่งวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับ "ภาวะผู้นำ" ของ กพสต. ในการดำเนินงานพัฒนาสตรี โดยศึกษาจาก กพสต. (59 คน) กพสม. (30 คน) และกลุ่มสตรี (83 คน) จากตำบลบ้านปิน ตำบลบ้านถ้ำ และตำบลหนองหล่ม อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา จำนวนรวมทั้งสิ้น 172 คน รวบรวมแนวคำถามสัมภาษณ์จากผู้ให้สัมภาษณ์ได้จำนวน 163 คน ผู้ศึกษารวบรวมข้อมูลโดยวิธีสัมภาษณ์และใช้วิธีการสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการสรุปลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา นอกจากนั้นยังใช้วิธีการสถิติอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียวเพ ... -
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อในลักษณะที่มีสัญญาผูกพันประเภทประกันราคา
โสภณ จันทร์สวย; รพี สุวรรณะชฎ, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1993)
การศึกษาเรื่อง "แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อในลักษณะที่มีสัญญาผูกพันประเภทประกันราคา" มีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ