Browsing by Author "วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล"
Now showing items 1-4 of 4
-
การกำหนดพิสัยที่เหมาะสมของค่าคงที่การทำให้เรียบในการพยากรณ์แบบปรับได้ตามวิธีการของโชว์และทริก-ลิช
มีนา ปทุมสูตร; วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2004)
การศึกษานี้เสนอวิธีการกำหนดช่วงที่เหมาะสมของการปรับค่าคงที่การทำให้เรียบตัวสำหรับแบบการพยากรณ์แบบปรับได้ตามวิธีการของโชว์ และทริก-ลิช ตลอดจนแนวทางการกำหนดค่าเริ่มต้นของค่าคงที่การทำให้เรียบสำหรับตัวแบบการพยากรณ์แบบปรับได้ของโชว์และทริก-ลิชมีความแม่ยำมากขึ้น ... -
การประมาณค่าข้อมูลสูญหายในการทดลองแฟกทอเรียล 2k กรณีไม่มีซ้ำ
กนิฏฐา ลาภาพงศ์; วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
ในการศึกษานี้ได้เสนอวิธีการประมาณค่าข้อมูลสูญหาย 1ค่า 5วิธี ในการทดลองแฟกทอ เรียล 2k ที่ไม่มีการทำซ้ำ โดยวิธีที่1 ใช้ผลรวมกำลังสองของอิทธิพลร่วมอันดับ สูงสุดมีค่าต่ำสุด วิธีที่ 2 ใช้การทำให้ค่าสัมประสิทธ์ิการแปรผันมีค่าต่ำที่สุด วิธีที่ 3 ใช้ค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่เหลือวิธีที่ 4 ใช้ค่าเฉลี่ยของข้อมูลในตำแหน่งที่อยู่ใกล้ที่สุด และวิธีที่ 5 ใช้สัดส่วนของการเปลี่ยนแปลง จากการเปรียบเทียบมาตรวัด 3 ตัว คือร้อยละของค่าความคลาดเคลื่อนสัมพัทธิ์ของค่าประมาณของข้อมูล สูญหายค่าผลรวมกำลังสองและค่าประมาณอิทธิพลของปัจจัยต่างๆ โดยใช้ตัวอย่างการทดลองแฟกทอเรียล 2 ... -
การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นกรณีที่ข้อมูลมีมิติสูงโดยใช้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม
ปณัช อาภาวุฒิชัย; วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล (สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์และคัดเลือกตัวแปรในการenวิเคราะห์การถดถอย เชิงเส้นกรณีที่ข้อมูลมีมิติสูงโดยใช้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม และนำผลของวิธีที่เสนอไปเปรียบเทียบกับวิธีที่รู้จักกัน อย่างแพร่หลาย 3 วิธี ได้แก่วิธีลาสโซ่ วิธีอีลาสติกเน็ต และวิธีการถดถอยแบบขั้นตอน โดยใช้วิธีการจำลอง เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาเปรียบเทียบวิธีที่ศึกษาคือร้อยละของการคัดเลือกตัวแปรอิสระได้ถูกต้อง ร้อยละของการคัดเลือกตัวแปรอิสระมากเกินไป ร้อยละของการคัดเลือกตัวแปรอิสระน้อยเกินไป ร้อยละของการคัดเลือกตัวแปรอิสระไม่ถูกต้อง ค่าเฉลี่ยของอัตราผลบวกจริง ... -
การเปรียบเทียบการคัดเลือกตัวแบบการถดถอยแบบริดจ์ โดยใช้เกณฑ์ซีพีและสถิติทดสอบซีพี
ปวริศ มีบางไทร; วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการคัดเลือกตัวแปรอิสระในการวิเคราะห์การถดถอย แบบริดจ์เชิงเส้นพหุคูณ ที่ใช้วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ริดจ์5 วิธี คือวิธีของโฮเอิร์ล เคนนาร์ด วิธีของโฮเอิร์ล เคนนาร์ดและบาลด์วิน วิธีของลอว์เลสและแวง วิธีของคาลาฟและชูเกอร์ และวิธีกำลัง สองน้อยที่สุด โดยใช้วิธีการคัดเลือกแบบไปข้างหน้าและการกำจัดแบบถอยหลังโดยใช้เกณฑ์ซีพีและ สถิติทดสอบซีพีผลการจำลองข้อมูลสรุปได้ว่าเมื่อขนาดตัวอย่าง 15, 20, 30,50 และ100ร้อยละของ จำนวนคร้ังที่คัดเลือกตัวแบบได้ถูกต้องเมื่อใช้สถิติทดสอบซีพีมีค่าสูงกวา่ การใช้เกณฑ์ซีพีในการใช้ ...