Browsing by Author "สมศักดิ์ สามัคคีธรรม"
Now showing items 1-8 of 8
-
The Success of Community-based Tourism Management: A Case Study of Thaka Floating Market, Amphawa District, Samut Songkham Province
Jaranya Kongphet; จรัญญา คงเพชร; Somsak Samukkethum; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม; Somsak Samukkethum; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม (National Institute of Development Administration, 12/8/2022)
The purpose of this research is to study tourism management by community of Tha Kha Floating Market, Amphawa District, Samut Songkhram Province in order to study the process that has led to the tourism by the community of Tha Kha Floating Market, Amphawa District, Samut Songkhram Province be successful. In addition, it is to study problems and obstacles including recommendations in the development of management by community system using qualitative research by collecting data with documents, insight interview, and observation from main data ... -
การจัดการทรัพยากรร่วม: ศึกษากรณีป่าชุมชนในอำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ
พัชรินทร์ โชคศิริ; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
การศึกษาวิจัยเรื่อง “การจัดการทรัพยากรร่วม ศึกษากรณีป่าชุมชนในอำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ” โดยมีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการจัดการทรัพยากรร่วมของการจัดการป่าชุมชน ศึกษาการประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการทรัพยากรร่วมของ Elinor Ostrom ในการบริหารจัดการป่าชุมชนที่มีประสิทธิผลอย่างยั่งยืน ศึกษาถึงความสอดคล้องและความแตกต่างในการจัดการป่าชุมชนของแต่ละโครงการป่าชุมชน และเพื่อค้นหาแนวทางการพัฒนาระบบการจัดการป่าชุมชน อำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งเป็นการศึกษาใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการศึกษาข้อมูลผ่านเอกสาร การสังเกตการณ์ ... -
การจัดการภาคีสาธารณะแบบใหม่เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณึศึกษางานประเพณีชักพระ อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ธัชมาศ สุเวช; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020)
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการภาคีสาธารณะแบบใหม่เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดการภาคีสาธารณะแบบใหม่เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของงานประเพณีชักพระ อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี การศึกษาได้ใช้วิธีการเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตการณ์ ผลการวิจัย พบว่า การจัดการภาคีสาธารณะแบบใหม่เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของงานประเพณีชักพระเป็นการสร้างความร่วมมือที่หลากหลาย ได้แก่ ภาคีภาครัฐ ภาคีธุรกิจเอกชน ภาคีองค์การไม่แสวงหาผลกำไร ภาคีสถาบันการศึกษา ภาคีศาสนสถาน และภาคีชุมชน มีการกำหนดเป้า ... -
การจัดการสวัสดิการชุมชนของคนจนเมือง : กรณีศึกษาชุมชนรุ่งมณีพัฒนา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
ลิสา ใจสะอาด; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่องการจัดการสวัสดิการชุมชนของชุมชนรุ่งมณีพัฒนา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการจัดการสวัสดิการชุมชนของชุมชนรุ่งมณีพัฒนา 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดการสวัสดิการชุมชนของชุมชนรุ่งมณีพัฒนา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกเพื่อให้ได้ข้อมูลตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ กลุ่มเป้าหมายคือ ประธาน กรรมการ สมาชิกในชุมชน สมาชิกกองทุน ต่างๆ ของชุมชน ผู้สูงอายุ หน่วยงานภาคีภายนอกที่ให้การสนับสนุน ตลอดจนบุคคลที่เกี่ยวข้องใน การจัดการสวัสดิการชุมชน ผลการศึกษาพบว่ากา ... -
การนำนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมไปปฏิบัติ : ศึกษากรณี การพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่แบบองค์รวม ของบริษัทเอฟู๊ด
วัชระ สายสมาน; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2019)
การศึกษาเรื่อง “การนำนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมไปปฏิบัติ : ศึกษากรณี การพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่แบบองค์รวม ของบริษัทเอฟู๊ด” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการนำนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมไปปฏิบัติ ในโครงการพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่แบบองค์รวม ของบริษัทเอฟู๊ด และ 2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากการนำนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมไปปฏิบัติ ในโครงการพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่แบบองค์รวม ของบริษัทเอฟู๊ด การศึกษานี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมจากประสบการณ์ปฏิบัติงานในหน่วยงา ... -
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: กรณีศึกษา ชุมชนป่าชายเลนแห่งหนึ่ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
วิภาภรณ์ เครือจันทร์; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020)
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน และแนวทางการพัฒนาเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ในกรณีของชุมชนป่าชายเลนจังหวัดนครศรีธรรมราชแห่งหนึ่ง การศึกษาครั้งนี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการจัดการเชิงยุทธศาสตร์การพัฒนาแนวทางการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลการวิจัยพบว่า การท่องเที่ยวโดยชุมชนป่าชายเลนแห่งนี้ มีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ดึงดูดใจจากทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน คือ สปาโคลนและอาหารทะเลสด ... -
การเสริมพลังชุมชนเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ กรณีศึกษาโครงการชุมชนน่าอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
พินทุสร โพธิ์อุไร; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2021)
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 3 ประการ คือ 1) ประเมินความสำเร็จโครงการชุมชนน่าอยู่ด้านผลลัพธ์ชุมชนเข้มแข็ง และผลลัพธ์ด้านสุขภาพตามเป้าหมาย 10 ปี สสส. ในพื้นที่ภาคเหนือของสำนักสร้างสรรค์โอกาส (สำนัก 6) 2) ศึกษาการเสริมพลังชุมชนที่ส่งผลต่อการเกิดผลลัพธ์ชุมชนเข้มแข็ง และผลลัพธ์ด้านสุขภาพตามเป้าหมาย 10 ปี สสส. ในพื้นที่ดังกล่าว และ 3) นำเสนอตัวแบบที่เหมาะสมของการเสริมพลังชุมชนเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การศึกษาใช้การวิจัยแบบผสม การวิจัยเชิงปริมาณใช้วิธีการจัดประชุมกลุ่มย่อยตัวแทนชุมชนที่เข้าร่วมโครงการชุมชนน่าอยู่ โดยใช้แบบสอบถาม 1 ชุดต่อ 1 ชุมชน ... -
ปัญหาการเลี้ยงดูเด็กและการจัดสวัสดิการชุมชนในเมือง: ศึกษากรณี 4 ชุมชนในเขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
ศรีหทัย วาดวารี; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาการเลี้ยงดูเด็กและการจัดสวัสดิการเด็กในชุมชนเมือง 4 ชุมชน 2) เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาการเลี้ยงดูเด็กของบิดามารดาในชุมชนเมือง 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการเด็กที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของคนในชุมชนเมือง ด้วยวิธีวิจัยแบบผสมทั้งวิธีวิจัยเชิงปริมาณและวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณในการเก็บรวบรวมข้อมูลครอบครัวที่มีเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 4 ปี ในภาพรวมของทั้ง 4 ชุมชน และวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งเป็นวิธีหลัก โดยการสัมภาษณ์เจาะลึกกับผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญทั้ง ...