Browsing by Author "สุจิตรา ชำนิวิกย์กรณ์"
Now showing items 1-5 of 5
-
กลุ่มพันธมิตรสายการบิน : ผลกระทบต่อราคาค่าโดยสารและรายรับของสายการบินในเส้นทางระหว่างศูนย์กลางข้ามมหาสมุทรแปซิฟิค
ฐณวุฒ ชุติพงศ์เดช; สุจิตรา ชำนิวิกย์กรณ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
ภายหลังการเริ่มรวมกลุ่มและก่อตั้งเป็นกลุ่มพันธมิตรสายการบินได้ เริ่มมีนักเศรษฐศาสตร์ตั้งข้อสังเกตถึงลักษณะของการต้านการแข่งขันภายในเส้นทางบิน โดยเฉพาะเส้นทางบินที่มีลักษณะบินเชื่อมระหว่างศูนย์กลางการบินของแต่ละประเทศว่า การรวมกลุ่มเป็นพันธมิตรสายการบินก่อให้เกิดพฤติกรรมการผูกขาดภายในเส้นทางบินแม้ว่ากลุ่มพันธมิตรสายการบินจะเอื้อประโยชน์ให้การเดินทางระหว่างประเทศของผู้โดยสารสะดวกสบายขึ้นจึงได้เริ่มมีงานวิจัยทาการศึกษาในประเด็นของกลุ่มพันธมิตรสายการบินต่อราคาและผู้โดยสารอย่างต่อเนื่องอย่างไรก็ตามผลการวิจัยในประเด็นการรวมกลุ่มเป็นพันธมิตรสายการบินท ... -
การตัดสินใจเลือกเรียนกวดวิชาและความสัมพันธ์กับการเรียนในโรงเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ณัฐพัชร์ จรูญชาติธนกิตติ์; สุจิตรา ชำนิวิกย์กรณ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
- -
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรกับความอยู่ดีกินดีของคนไทย
กฤษฎา วัฒนเสาวลักษณ์; สุจิตรา ชำนิวิกย์กรณ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)
การศึกษานี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุประชากรที่คาดกว่าจะเกิดขึ้นในประเทศไทยว่ามีผลกระทบต่อความอยู่ดีกินของคนไทยหรือไม่อย่างไร เนื่องด้วยการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดและอัตราการเสียชีวิตจากระดับสูงมาสู่ระดับต่า ทำให้สัดส่วนคน วัยทำงานลดลง สวนทางกับจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น หมายถึงการมีสัดส่วนผู้บริโภคมากขึ้นเมื่อเทียบกับคนวัยทางาน จึงเป็นไปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อความอยู่ดีกินดีของคนไทย การศึกษานี้ได้ประยุกต์ตัวแบบแรมซีย์เข้ากับตัวแปรด้านประชากร และทำการจำลองเหตุการณ์ว่าหากโครงสร้างปร ... -
โครงสร้างตลาดเงินฝากระยะยาวในประเทศไทย
กวิน ภักดีกุลสัมพันธ์; สุจิตรา ชำนิวิกย์กรณ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
- -
มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการศึกษาไทยชั้นอุดมศึกษา
เอกสิทธิ์ โพธิ์ชูชาติ; สุจิตรา ชำนิวิกย์กรณ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
การลงทุนในการศึกษาเป็นการลงทุนในทุนมนุษย์ที่สำคัญ ที่ทำให้มนุษย์อยู่ในฐานะแรงงานที่มีผลิตภาพ (Productivity) ซึ่งจะนำไปสู่การมีงานทำและเงินได้ที่สูงขึ้น ในปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาไทยผลิตทุนมนุษย์ระดับสูง อย่างมหาวิทยาลัยหรือสถานศึกษามีการเปิดหลักสูตรจำนวนมากประกอบกับค่านิยมการเลือกเรียนของนักเรียนและความคาดหวังของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป ทางเลือกของอาชีพและเงินได้ที่สูงในอนาคตจึงเป็นเหตุผลที่สำคัญในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในแต่ละสาขาวิชา งานศึกษานี้เป็นการศึกษามูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการศึกษาไทยชั้นอุดมศึกษา ในรูปประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับบุคคลที่เป็นตัวเงิน ...