Browsing by Subject "การศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- ไทย"
Now showing items 1-3 of 3
-
การพัฒนาการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษาในยุคดิจิทัล: กรณีศึกษาพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 3 ประการ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดการศึกษาในยุคดิจิทัลและรูปแบบของการประยุกต์ใช้ดิจิทัลเทคโนโลยีในระดับอุดมศึกษาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) เพื่อศึกษาบทบาทและความสำคัญของดิจิทัลเทคโนโลยีด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ (3) เพื่อศึกษาให้เป็นข้อเสนอแนะทางด้านนโยบายการศึกษาและการพัฒนาการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ในการปรับตัวเพื่อก้าวเข้าสู่การศึกษายุคดิจิทัล ผู้วิจัยได้ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาค้นคว้าเอกสารและการสัมภาษณ์เช ... -
การศึกษารูปแบบและแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในสถาบันอุดมศึกษาไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010);
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักในการศึกษาพัฒนาการนโยบาย กฎหมาย และระเบียบ เกี่ยวกับการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ เพื่อนําไปสู่การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาสําหรับ คนพิการที่เหมาะสมและสามารถนําไปปฏิบัติได้ในสถาบันอุดมศึกษาไทย วิธีการวิจัยในส่วนแรก เป็นการศึกษาเชิงเอกสาร (Documentary Research) ที่ครอบคลุมสาระของกฎหมายหลักได้แก่ รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 และพระราชบัญญัติการจัด การศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ.2551 ลําดับถัดมาเป็นการวิจัยในภาคสนามโดยใช้เทคนิคการเก็บ ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data)ในกรณีศึกษาที่เป็นสถาบันกา ... -
ปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดของนักศึกษาที่มีต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาระดับปริญญาตรี นอกเขตพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสาเหตุของการตัดสินใจเลือกศึกษาระดับ ปริญญาตรี นอกเขตพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่ใช้ในการตัดสินใจ เลือกศึกษาระดับปริญญาตรี นอกเขตพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ ของเหตุจูงใจภายในที่เป็นแรงผลักดัน กับ เหตุจูงใจในการกำหนดจุดหมายปลายทางที่ดึงดูดให้ นักศึกษาเลือกศึกษาระดับปริญญาตรี นอกเขตพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ ทำการศึกษาปัจจัยผลักดัน 3 ด้านได้แก่ 1) ด้านความคาดหวัง 2) ด้านข้อผูกพัน 3) ด้านแรงเสริม/ แรงกระตุ้น และศึกษาปัจจัยดึงดูด ...