Browsing by Subject "พฤติกรรมองค์การ"
Now showing items 1-8 of 8
-
การมีภาวะเป็นสถาบันของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1994);
การมีภาวะเป็นสถาบัน เป็นแนวความคิดทางสังคมวิทยาที่พยายามและอธิบายการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม โดยเห็นว่าสังคมจะเกิดความเป็นปึกแผ่นและอยู่รอดต่อไปได้นั้น ขึ้นอยู่กับว่ากลุ่มคนในสังคมได้ให้การยอมรับในระเบียบแบบแผนของสังคมหรือไม่ และมีการถือปฏิบัติตามในระเบียบแบบแผนของสังคมเพียงใด -
การวิจัยเพื่อพัฒนาแบบวัดการถ่ายทอดทางสังคมขององค์การ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012);
การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดการถ่ายทอดทางสังคมขององค์การตามแนวคิดวงจรชวิตการทำงานของบูแวน (Bhuvan, 2010) โดยเริ่มจากจัดทำแบบวัดการถ่ายทอดทาง สังคมขององค์การ 3 ฉบับแต่ละฉบับประกอบด้วย 3 องค์ประกอบย่อย รวมเป็น 9 องค์ประกอบย่อยตามกระบวนการถ่ายทอดทางสังคมที่เสนอโดย ดวซและไรท์แมน (Deaux & Wrightsman, 1988) ดังนี้ (1) แบบวัดการถ่ายทอดทางสังคมขององค์การช่วงเรียนรู้ประกอบด้วยข้อคำถามที่เกี่ยวกับการแสวงหาและคัดเลือกการบรรจุเข้าทำงานและการเรียนรู้รวม 31 ข้อ (2) แบบวัดการถ่ายทอดทางสังคมขององค์การช่วงเติบโต ประกอบด้วยข้อคำถามเกี่ยวกับการยอมรับ ... -
ความสามารถในการเผชิญอุปสรรค ความเครียดในการทำงาน และพฤติกรรมองค์การเชิงบวกของพนักงานสำนักงาน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถประสงค์เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการ เผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคความเครียดในการทำงานและพฤติกรรมองคการเชิงบวกของพนักงานในองค์การรวมทั้งศึกษาอำนาจในการพยากรณ์พฤติกรรมองค์การเชิงบวกของความสามารถในการ เผชิญและฝ่าฟันอุปสรรค และความเครียดในการทํางานของพนักงานในองค์การ โดยใช้ แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากพนักงานในองค์การภาครัฐและภาคเอกชนต่างประเภทกัน 5 องค์การๆได้แก่ องค์การด้านการให้บริการทรัพย์สินทางปัญญาการจดการทางโลจิสติกส์ การให้บริการที่พักด้านการผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์และองค์การภาครัฐ โดยได้รับ ... -
บทบาทของการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การและจิตลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตนที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพยาบาลวิชาชีพ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011);
การวิจัยนี้มุ่งศึกษาบทบาทของการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การและจิตลักษณะมุ่ง อนาคตควบคุมตนที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ องค์การ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพจำนวน 405 คน ดำเนินการ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) 5 ฉบับ ได้แก่ (1) แบบสอบถามลักษณะ ส่วนบุคคล (2) แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ประกอบด้วย แบบสอบถามพฤติกรรมย่อย 5 ด้าน คือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการคำนึงถึงผู้อื่น ด้าน ความอดทนอดกลั้น ด้านการให้ความร่วมมือ และด้านความสำนึกในหน้าที่ (3) ... -
บทบาทของอัตลักษณ์องค์การและความมุ่งมั่นทุ่มเทในการทำงานที่มีต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตลักษณ์องค์การ ความ มุ่งมั่นทุ่มเทในการทํางาน และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และเพื่อศึกษาบทบาท ของอัตลักษณ์องค์การและความมุ่งมั่นทุ่มเทในการทํางานที่มีต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี ขององค์การ โดยใช้กลุ่มประชากรจากพนักงานของโรงแรมระดับกลาง (200-300 ห้อง) บนเกาะ แห่งหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย จํานวนประมาณ 900 คน จาก 5 โรงแรม ในที่นี้ผู้วิจัย เลือกศึกษาโรงแรมจํานวน 2 แห่ง ที่ผู้บริหารและพนักงานให้ความร่วมมืออย่างเป็นดี ทั้งสอง แห่งมีพนักงานรวม 400 คน ผู้วิจัยดําเนินการเก็บข้อมู ... -
บรรยากาศองค์การกับความพอใจในงานของพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน : จังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995); -
ปัจจัยที่มีผลต่อวุฒิภาวะของผู้บริหารระดับกลาง : การศึกษาเปรียบเทียบผู้บริหารองค์การภาครัฐและเอกชน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1996); -
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ องค์การกับการแลกเปลี่ยนความรู้ของพนักงานซ่อมบารุงอากาศยาน บริษัทมหาชน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง และทดสอบ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และพฤติกรรมย่อยของ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ 5 พฤติกรรม ได้แก่ พฤติกรรมการช่วยเหลือผู้อื่น พฤติกรรมการคา นึงถึงผู้อื่น พฤติกรรมการอดทนอดกลั้น พฤติกรรมการให้ความร่วมมือ และ พฤติกรรมการสานึกในหน้าที่ ที่ส่งผลต่อการแลกเปลี่ยนความรู้ กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานซ่อม บา รุงอากาศยานบริษัทมหาชนแห่งหนึ่ง จา นวน 336 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 3 ฉบับ ได้แก่ ...