Browsing by Subject "มัคคุเทศก์"
Now showing items 1-4 of 4
-
การเปิดเสรีในกรอบของอาเซียนด้านการท่องเที่ยวที่ไทยต้องเผชิญ: กรณีศึกษาผู้ประกอบการนำเที่ยวเเละวิชาชีพมุคคุเทศก์ในประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ(General Agreement on Trade in services) ได้กำหนดให้ประเทศสมาชิดมีการเจรจา เพื่อลดหรือยกเลิกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการเปิดเสรีการค้าบริการ ตามหลักการเปิดเสรีก้าวหน้าตามลำดับ(Progressive Liberalization)เเละกรอบความตกลงด้านการค้าบริการ หรือ ASEAN Framework Agreement on Service (AFAS) เป็นอีกกรอบกติกาเกี่ยวกับการเปิดเสรี เพื่อให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดเสรีตามเป้าหมายให้เป็นไปตาม AEC Blueprint ที่ประเทศสมาชิกมีความเห็นชอบร่วมกัน -
องค์กรควบคุมในการประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ในประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013);
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาเหตุผล ความจำเป็น และรูปแบบและโครงสร้างเหมาะสมในการจัดตั้งองค์กรควบคุมในการประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ เนื่องจากปัจจุบันองค์กรควบคุมในการประกอบอาชีพมัคคุเทศก์เป็นองค์กรในลักษณะคณะกรรมการธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธุรกิจนำที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2535 (ยกเลิก) และใช้พระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 21 ปีแล้วแล้ว ทำหน้าที่ควบคุมผู้ประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ ... -
แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของมัคคุเทศก์ที่พึงประสงค์ต่อการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
การวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของมัคคุเทศก์ที่พึงประสงค์ต่อการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของประเทศไทยเป็นการวิจัยที่ประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Research Methods) มีวัตถุประสงค์ ดังนี้1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะมัคคุเทศก์ในปัจจุบัน 2) เพื่อประเมินสมรรถนะมัคคุเทศก์ที่พึงประสงค์ต่อการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของประเทศไทย 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของมัคคุเทศก์ที่พึงประสงค์ต่อการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของประเทศไทย โดยวิธีการในการเก็บข้อมูลเริ่มตั้งแต่การสัมภาษณ์มัคคุเทศก์ทั่วไป ... -
แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะพื้นฐานอาชีพผู้นำเที่ยวไทยที่สอดคล้องตามความต้องการของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาถึงสมรรถนะพื้นฐานอาชีพผู้นำเที่ยวไทยที่สอดคล้องตามความต้องการของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย 2) เพื่อประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะพื้นฐานอาชีพผู้นำเที่ยวไทย ที่สอดคล้องตามความต้องการของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย และ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะพื้นฐานอาชีพผู้นำเที่ยวไทย ที่สอดคล้องตามความต้องการของอุตสากรรมท่องเที่ยวไทย