Browsing by Subject "รายการโทรทัศน์"
Now showing items 1-4 of 4
-
กระบวนการนำเสนอรูปแบบสารคดีเชิงละครในรายการสารคดีเชิงช่าวเรื่องจริงผ่านจอ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการนำ เสนอรูปแบบสารคดีเชิงละครใน รายการสารคดีเชิงข่าว เรื่องจริงผ่านจอ ที่ส่งผลให้ผู้รับชมรู้เท่าทันสื่อ การวิจัยนี้ใช้รูปแบบการวิจัย เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดว้ย การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ผลิตรายการ จำนวน 3 คน การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จำนวน 100 เรื่อง จากเทปที่ออกอากาศ จำนวน 26 ตอน และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ผู้ชมรายการ จำนวน 8 คน -
กระบวนการสื่อสารและการสร้างคาแรกเตอร์ของผู้ดำเนินรายการเจาะข่าวตื้นและรายการวีอาร์โซ (VRZO)
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
การวิจัยเรื่อง “กระบวนการสื่อสารและการสร้างคาแรกเตอร์ของผู้ดําเนินรายการเจาะข่าว ตื้นและรายการวีอาร์โซ (VRZO)” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 9) ศึกษาถึงกระบวนการสื่อสารของผู้ดําเนินรายการเจาะข่าวตื้นและรายการวีอาร์โซ (VRZO) ;) เพื่อศึกษาการสร้างคาแรกเตอร์ของผู้ดําเนินรายการเจาะข่าวตื้นและรายการวีอาร์โซ (VRZO) การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) กับผู้ดําเนินรายการเจาะข่าวตื้น และรายการวีอาร์โซ (VRZO) จํานวน 4 คน และการศึกษาโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ระยะเวลา 8 เดือน ... -
กลยุทธ์การสื่อสารช่อง Gutumdai เพื่อสร้างรายได้ผ่านเว็บไซต์ Youtube ในรูปแบบรายการโทรทัศน์
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
การวิจัยในคร้ังนี้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาถึงกลยุทธ์การสื่อสารของผู้ผลิตช่อง Gutumdai เพื่อสร้างรายได้ผ่านเว็บไซต์Youtube ในรูปแบบรายการโทรทัศน์ โดยมีจุดประสงค์ ดังนี้1) เพื่อศึกษาถึงกลยุทธ์และทัศนคติในการสื่อสารเพื่อสร้างรายได้ผ่านเว็บไซต์Youtube ใน รูปแบบรายการโทรทัศน์ 2) เพื่อศึกษาถึงที่มาของรายได้ในการผลิตรายการโทรทัศน์ผ่านเว็บไซต์ Youtube จากโปรแกรมพันธมิตร Youtube 3) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการสร้างรายได้ ผ่านเว็บไซต์ Youtube โดยใช้ระเบียบวิจัยแบบผส ม (Mixed Method) การวิจัยเชิงคุณ ภาพ (Qualitative Research) แบ่งออกเป็น 2 ... -
นวัตกรรมรูปแบบรายการโทรทัศน์และการมีส่วนร่วมของคนหูหนวก
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
การวิจัยเรื่อง “นวัตกรรมรูปแบบรายการโทรทัศน์และการมีส่วนร่วมของคนหูหนวก” ผู้วิจัยมุ่งเน้นศึกษารายการโทรทัศน์ภาษามือส าหรับคนหูหนวก “รายการใจเท่ากัน” ออกอากาศ ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth Interview) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการผลิตรายการ เพื่อศึกษาถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อการผลิตรายการ กระบวนการผลิตรายการ รวมทั้งการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมของคนหูหนวกในรายการใจเท่ากัน และใช้การสอบถามความคิดเห็นโดยการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ซึ่งประกอบด้วยคนหูหนวก และคนทั่วไป ซึ่งเคยรับชมรายการใจเท่ากัน เพื่อศึกษาถึงการใช้ ...