Now showing items 1-13 of 13

  • Thumbnail

    การผลิตซ้ำทุนทางวัฒนธรรม : กรณีศึกษาโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ 

    ดวงพร คงพิกุล; โกวิทย์ กังสนันท์, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถประสงค์เพื่อศึกษาการสั่งสมสืบทอดวัฒนธรรมองค์การของโรงเรียน พระหฤทยคอนแวนต์โดยใช้แนวคิดทนทางวัฒนธรรมของ Pierre Bourdieu ศึกษาการส่งสมทุนทางวัฒนธรรม 3 ระดับ คือ ทุนที่อยู่ในตัวตนทุนที่อยู่ในวัตถุและทุนที่อยู่ในรูปสถาบัน จากนั้น วิเคราะห์กระบวนการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมตามแนวคิดของ Raymond Williams กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ บุคลากรในโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์จํานวน 19 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์แบบปลายเปิดและไม่ชี้นํา และแบบบันทึกการสังเกตวิธีที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ ...
  • Thumbnail

    การวิจัยเพื่อพัฒนาแบบวัดการถ่ายทอดทางสังคมขององค์การ 

    กุลธิดา กรมเวช; บังอร โสฬส, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดการถ่ายทอดทางสังคมขององค์การตามแนวคิดวงจรชวิตการทำงานของบูแวน (Bhuvan, 2010) โดยเริ่มจากจัดทำแบบวัดการถ่ายทอดทาง สังคมขององค์การ 3 ฉบับแต่ละฉบับประกอบด้วย 3 องค์ประกอบย่อย รวมเป็น 9 องค์ประกอบย่อยตามกระบวนการถ่ายทอดทางสังคมที่เสนอโดย ดวซและไรท์แมน (Deaux & Wrightsman, 1988) ดังนี้ (1) แบบวัดการถ่ายทอดทางสังคมขององค์การช่วงเรียนรู้ประกอบด้วยข้อคำถามที่เกี่ยวกับการแสวงหาและคัดเลือกการบรรจุเข้าทำงานและการเรียนรู้รวม 31 ข้อ (2) แบบวัดการถ่ายทอดทางสังคมขององค์การช่วงเติบโต ประกอบด้วยข้อคำถามเกี่ยวกับการยอมรับ ...
  • Thumbnail

    การวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ การฝังลึกในงาน และความอยู่ดีมีสุขของพนักงานธนาคาร 

    ณัฐาพร จริยะปัญญา; บังอร โสฬส (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงของโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ การฝังลึกในงาน และความอยู่ดีมีสุขของพนักงาน 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การและการฝังลึกในงาน ที่ส่งผลต่อความอยู่ดีมีสุขของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างคือพนักงานระดับปฏิบัติการ 2-7 ของสถาบันการเงินรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 4 ฉบับ ได้แก่ แบบสอบถามลักษณะทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถามความอยู่ดีมีสุขในองค์การ แบบสอบถามการฝังลึกในงาน และแบบสอบถามการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ ...
  • Thumbnail

    การศึกษาเปรียบเทียบความมุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อนองค์การและวัฒนธรรมองค์การระหว่างบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ติดอันดับ SET 100 Index 

    ณภัทธิรา มุ่งธนวรกุล; วาสิตา บุญสาธร (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความความมุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อน องค์การ และวัฒนธรรมองค์การของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2) เพื่อตึกษา เปรียบเทียบระดับความมุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อนองค์การ กับวัฒนธรรมองค์การระหว่างจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั่วไป กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯที่ติดอันดับ SET 100 Index และ 3) เพื่อศึกษาความสามารถในการทำนายของวัฒนธรรมองค์การที่มีต่อความ มุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อนองค์การ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พนักงานที่ทำงานอยู่ในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) จำนวน 414 คน ...
  • Thumbnail

    การเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์การที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์การ : กรณีศึกษารัฐวิสาหกิจในประเทศไทย 

    สมจินตนา คุ้มภัย; นิสดารก์ เวชยานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010)

    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาอิทธิพลของวัฒนธรรมองค์การที่มีต่อประสิทธิผล ขององค์การแบบรัฐวิสาหกิจทางการเงินในประเทศไทย และ 2) เปรียบเทียบความแตกต่างด้าน วัฒนธรรมองค์การระหว่างองค์การที่มีประสิทธิผลสูง ปานกลาง และต่ำ ด้วยวิธีสืบค้นหาสาเหตุหรือ ตัวแปรอิสระ คือ วัฒนธรรมองค์การที่ก่อให้เกิดผลลัพธ์หรือตัวแปรตาม คือ ประสิทธิผลองค์การ โดยจำแนกรัฐวิสาหกิจออกเป็น 3 กลุ่มคือ องค์การที่มีประสิทธิผลสูงปานกลาง และต่ำ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative)เป็นหลักศึกษาข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัย และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสัมภาษณ์เช ...
  • Thumbnail

    ความสัมพันธ์ระหว่างระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน วัฒนธรรมองค์การ ความผูกพันต่อองค์การ และผลการดำเนินงานของการประปาส่วนภูมิภาค 

    วีระยุทธ วงศ์รักษา; กัลยาณี เสนาสุ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาความสัมพัน ธ์ระหว่างระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance management system: PMS) วัฒนธรรมองค์การ (Organizational culture) ความผูกพัน ต่อองค์การ (Organizational commiment) และผลการปฏิบัติงาน (Performance) ทั้งในระดับบุคคล และระดับองค์การของการประปาส่วนภูมิภาค โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างในภาพรวมไว้ที่ 1,463 คน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มช่อยคือ กลุ่มสำนักงานใหญ่และกลุ่มในส่วนภูมิภาค แล้วจึงใช้ แบบสอบถามซึ่งพัฒนาขึ้นเป็นการเฉพาะส่งไปถึงกลุ่มตัวอย่างที่ปฏิบัติงานอยู่ใน 338 หน่วยงาน ทั่วประเทศ โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นปร ...
  • Thumbnail

    ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การ ลักษณะความเป็นผู้นำความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและประสิทธิภาพองค์การ 

    นรภัทร พัชรพรพรรณ; นิธินันท์ ธรรมากรนนท์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)

    จุดประสงค์ในการก่อตั้งองค์การธุรกิจคือ ธุรกิจสามารถดำเนินการทางธุรกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพท่ามกลางการแข่งขันในระบบเศรษฐกิจ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว องค์การ จึงต้องบริหารจัดการความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นผู้นำกับเทคโนโลยีซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการ พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพขององค์การ ในขณะที่หลายๆ องค์การได้นำ Balanced Scorecard มา ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพขององค์การ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ก็ได้รับ การยอมรับและนำมาใช้ในองค์การเช่นเดียวกัน โดยมุ่งหวังที่จะใช้ทั้งสองปัจจัยนี้ เพิ่มความ ได้เปรียบในการแข่งขันและสร้างความแตก ...
  • Thumbnail

    บทบาทของการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การและจิตลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตนที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพยาบาลวิชาชีพ 

    ทิพย์วรรณ มงคลดีกล้ากุล; บังอร โสฬส, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011)

    การวิจัยนี้มุ่งศึกษาบทบาทของการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การและจิตลักษณะมุ่ง อนาคตควบคุมตนที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ องค์การ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพจำนวน 405 คน ดำเนินการ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) 5 ฉบับ ได้แก่ (1) แบบสอบถามลักษณะ ส่วนบุคคล (2) แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ประกอบด้วย แบบสอบถามพฤติกรรมย่อย 5 ด้าน คือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการคำนึงถึงผู้อื่น ด้าน ความอดทนอดกลั้น ด้านการให้ความร่วมมือ และด้านความสำนึกในหน้าที่ (3) ...
  • Thumbnail

    ปัจจัยด้านวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีศึกษา สถาบันอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร 

    จิตราภรณ์ ทองไทย; สมบัติ กุสุมาวลี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009)
  • Thumbnail

    ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลองค์การของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร : ตัวแบบสมการโครงสร้าง 

    พงษ์เทพ จันทสุวรรณ; พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011)
  • Thumbnail

    ภาวะผู้นำและวัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลขององค์การ : กรณีศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 

    พิณญาดา อำภัยฤทธิ์; พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011)
  • Thumbnail

    วัฒนธรรมองค์การ องค์การการเรียนรู้ กับประสิทธิผลองค์การของศาลยุติธรรม : ตัวแบบสมการโครงการ 

    ปริณ บุญฉลวย; สุรสิทธิ์ วชิรขจร (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)

    การศึกษา เรื่อง วัฒนธรรมองค์การ องค์การการเรียนรู้ และประสิทธิผลองค์การของศาล ยุติธรรม : ตัวแบบสมการโครงสร้าง มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้อง กลมกลืน ระหว่างตัวแบบมาตรวัดที่สร้างตามแนวคิดกับตัวแบบมาตรวัดที่สร้างขึ้นตามข้อมูลที่จัดเก็บได้ของ ปัจจัยด้านประสิทธิผลองค์การ ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การ และปัจจัยด้านองค์การการเรียนรู้ของ ศาลยุติธรรมในภาพรวม 2) เพื่อศึกษาหาระดับประสิทธิผลองค์การ ระดับวัฒนธรรมองค์การ และ ระดับองค์การการเรียนรู้ของศาลยุติธรรม 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างปัจจัย ด้านประสิทธิผลองค์การ ปัจจัยด้าน ...
  • Thumbnail

    วัฒนธรรมองค์การที่มีอิทธิพลต่อวิธีปฏิบัติเชิงบริหารการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมุมมองของบุคลากรทางด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ 

    สนารัตน์ กลิ่นชื่น; วราภรณ์ จิรชีพพัฒนา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)

    ประเทศไทยมีการลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการดำเนินธุรกิจอย่างกว้างขวาง องค์การต่าง ๆ นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการดำเนินยุทธศาสตร์ แตอ่ ย่างไรก็ตาม มีงานวิจัยที่พบว่ายังมีโครงการทางด้านซอฟต์แวร์ที่ล้มเหลวเกิดขึ้นอยู่ ประเด็นที่ถูกนำมาพิจารณามากที่สุดในการลดความเสี่ยงที่จะเกิดความล้มเหลวของโครงการทางด้านซอฟต์แวร์ และเพิ่มความสามารถของการพัฒนาโครงการทางด้านซอฟต์แวร์ คือ การนำวิธีปฏิบัติเชิงบริหารการพัฒนาซอฟต์แวร์มาใช้ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ เนื่องจากวิธีปฏิบัติเชิงบริหารการพัฒนาซอฟต์แวร์นี้ส่งผลต่อความสำเร็ ...