Browsing by Subject "สมบัติ ธำรงธัญวงศ์"
Now showing items 1-20 of 39
-
'กปปส.'บอกการบ้าน'คสช.'แนะบริหารอำนาจยังไงไม่ให้พัง
(สารสู่อนาคต, 2014-10-28)
ศ.ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ 1 ใน 5 แกนนำกปปส.ได้แนะการบริหารประเทศของคสช.ว่า ภารกิจแรกของคสช.คือ ต้องกอบกู้ความเป็นเอกภาพความสามัคคีของคนในชาติกลับคืนมาให้ได้ ถ้าทำไม่สำเร็จประเทศก็จะมีปัญหาต่อไปในอนาคต -
จับ'พิกัด'การเมือง เข้าโหมดชี้ขาด'ร่าง รธน.'
(สำนักพิมพ์มติชน, 2016-04-15)
ความเห็นของนักวิชาการต่อกรณีสถานการณ์การเมือง ภายหลังที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ(กรธ.) สรุปสาระสำคัญร่างรัฐธรรมนูญเสร็จเรียบร้อย และส่งมอบสาระสำคัญให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.) ที่จะเข้าสู่โหมดการรณรงค์เพื่อเตรียมการจัดทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญ -
ชงสนช.'สภาพี่เลี้ยง' 'นศ.วปอ.56' เสนอโอนขรก.ดำรงตำแหน่งการเมืองได้
(บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2014-09-16)
นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นปี 2556 ได้เสนอยุทธศาสตร์ชาติที่เกี่ยวกับการเข้าสู่อำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร ส่วนด้านอาจารย์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ก็ได้ร่วมเสนอแนะแนวทางปฏิรูป 16 ด้าน แก่รัฐบาล -
'ชัยอนันต์'ชี้หนทางลดคอร์รัปชัน-หนุนนายกฯ คนนอก หั่น ส.ส.เหลือ จว.ละคน
(บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2014-10-13)
นายสมบัติ ธำรงธัญวงศ์ อดีตอธิการบดีนิด้า กล่าวว่า ในการปฏิรูปประเทศในฐานะอาจารย์สอนหนังสือจะผลักดันแนวทางการปฏิรูปด้านการศึกษาให้มีประสิทธิภาพให้สูงขึ้น ขณะเดียวกันก็จะเข้ามาผลักดันและเสนอแนวทางการปฏิรูปทางด้านการเมือง โดยเฉพาะการทำให้พรรคการเมืองมีความเข้มแข็ง ปลอดจากนายทุน เป็นพรรคการเมืองของประชาชนอย่างแท้จริง -
เช็กกระแสร่างรธน. สนช.ลงใต้รับฟังความเห็นประชาชน อ๋อยซัดตัดสิทธิ 111 ขัดหลัก'นิติธรรม'
(บริษัท สยามรัฐ, 2015-11-30)
นายพีระศักดิ์ พอจิต รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่ 2 เปิดเผยว่า ในวันที่ 1 ธ.ค.นี้คณะจัดทำร่างรัฐธรรมนูญของสนช.และตัวแทนกรรมการยกร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) จะลงพื้นที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เพื่อรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะในการร่างรัฐธรรมนูญ -
ซื้อขายตำแหน่งประหารชีวิต ยาแรงปราบทุจริตต้นน้ำ
(สำนักพิมพ์บางกอกโพสต์, 2016-11-07)
กลายเป็นประเด็นทางการเมืองที่น่าสนใจไม่น้อย เมื่อคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรอ.) เตรียมกำหนดโทษประหารชีวิตไว้ในร่าง พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูยว่าด้วยการป้องกันและปราบปราบการทุจริต เพื่อเป็นบทลงโทษสูงสุดสำหรับบุคคลที่ซื้อขายตำแหน่งในทางการเมือง -
โดนัลด์ ทรัมป์ ผู้นำพญาอินทรี จับตาผลกระทบ ดุลอำนาจโลก
(บริษัท สารสู่อนาคต, 2016-11-10)
ประเด็นที่นักวิเคราะห์การเมืองต่างประเทศ-นักรัฐศาสตร์ระหว่างประเทศ-นักธุรกิจระหว่างประเทศของหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทยจับจ้องกันตอนนี้ก็คือ ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 45 โดนัลด์ ทรัมป์ จะมีนโยบายด้านการต่างประเทศในมิติเศรษฐกิจ การเมือง ความมั่นคง การทหาร การลงทุนอย่างไร เพราะแน่นอนว่าจากที่ทรัมป์เคยหาเสียงไว้หลายเวที เขามีนโยบายในเรื่องนี้ที่แตกต่างจากฮิลลารี คลินตัน และพรรคเดโมแครตอย่างสิ้นเชิง -
ตร.จับแกนนำ กปปส.ข้อหากบฏ'สมบัติ'ไม่ตื่นเต้น-ยันสู้ต่อจนชนะ
(นวกิจบ้านเมือง, 2014-10-28)
หลังจากที่นายสมบัติ ธำรงธัญวงศ์ ได้ตกเป็นผู้ต้องหาตามหมายจับคดีกบฏ ได้กล่าวว่า ตนคิดที่จะมารายงานตัวกับเจ้าหน้าที่ตำรวจอยู่แล้ว ไม่ได้คิดหลบหนี เพราะเชื่อว่าข้อกล่าวหาแบบนี้ เราสามารถต่อสู้ได้ในชั้นศาล และเราก็ยังมุ่งมั่นในการต่อสู้และใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญต่อไป -
ต้องร่างให่ผ่านประชามติ แนะโมเดลอำนาจพิเศษ
(บริษัท สารสู่อนาคต, 2558-09-20)
ทรรศนะต่อการร่าง รธน.ฉบับใหม่ที่จะเริ่มนับหนึ่งกันช่วงต้นเดือน ต.ค. จากอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) สายนักวิชาการ ที่มีบทบาทสำคัญอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา เพราะให้ความเห็นมาตลอดว่าร่าง รธน.ฉบับ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ มีข้อบกพร่องหลายประเด็น จนสุดท้าย สปช.ก็ลงมติคว่ำร่าง รธน.ดังกล่าว นั่นก็คือ "ศ.ดร.สมบัติ สำรงธัญวงศ์ อดีดประธานคณะกรรมาธิการปฏิรูปการเมือง สภาปฏิรูปแห่งชาติ และอดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เขามีมุมมองในเรื่องนี้อย่างไร เป็นเรื่องที่ต้องติดตาม -
ถอดบทเรียน 83 ปี ปชต.ไทย ปรองดองต้องแก้ที่'ต้นตอ'
(เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2015-10-18)
การร่างรัฐธรรมนูญที่กำลังดำเนินการโดยคณะกรรมการชุดของนายมีชัย ฤชุพันธุ์ อยู่ในขณะนี้ เป็นร่างรัฐธรรมนูญที่อยู่บนความ"คาดหวัง"ของคนไทย ว่าจะสามารถแก้ปัญหาของบ้านเราได้มากน้อยแค่ไหน และจะนำพาการเมืองภายใต้ระบอบ"ประชาธิปไตย"ให้ก้าวหน้าไปได้เพียงใด -
'นักวิชาการ'ชี้จุดเสี่ยงหากแก้รธน.
(เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2016-03-20)
มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์และกระแสกดดันจากภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคสังคม วิชาการรวมถึงภาคการเมือง ซึ่งทั้งหมดนี้พุ่งเป้าไปที่ 21 กรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ว่าจะมีท่าทีอย่างไรหลังจากที่ได้รับข้อเสนอจาก คสช.ไปแล้ว ไม่ว่าจะเป็นประเด็นเรื่องการให้มี ส.ว.เปลี่ยนผ่าน 5 ปี จำนวน 250 คน มีหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ ควบคุมฝ่ายบริหารด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ซึ่งทางภาควิชาการก็ได้แสดงความกังวลต่อประเด็นต่างๆ เหล่านี้ -
นักวิชาการวิพากษ์บทสรุปกรธ. 'นายกฯ คนนอก'ไม่ต่าง'คปป.'
(เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2016-03-23)
คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ(กรธ.)ได้ข้อสรุปแม่น้ำ 4 สาย ที่เสนอให้กรธ.มีการบัญญัติในบทเฉพาะกาลในหลายเรื่องหลายประเด็น ซึ่งมีความเห็นจากฝั่งนักวิชาการที่ได้แสดงความเห็นต่อประเด็นดังกล่าวไว้หลายข้อ -
นายกฯ เรียกร้องคนไทยสามัคดี-ร่วมขับเคลื่อนประเทศ
(เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2016-01-02)
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) ได้ออกคำปราศรัยไปถึงพี่น้องประชาชนทั่วประเทส เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ 2559 เรียกร้องให้ประชาชนรักสามัคคีกัน และร่วมมือกับรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ -
นิด้าจับมือ C-ASEAN เสริมเขี้ยวเล็บนักลงทุน บุกตลาดเวียดนาม
(บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2015-07-15)
ศ.ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ ผอ.ศูนย์อาเซียนและเอเชียศึกษา นิด้า เปิดเผยว่า นิด้าได้เปิดโครงการสัมมนาธุรกิจผู้ประกอบการพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยทางศูนย์ได้ร่วมมือกับ C-ASEAN เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการไทยที่มีความสนใจเปิดตลาดลงทุนในประเทศอาเซียนอย่างมีทิศทาง จากประสบการณ์ตรงของเจ้าของธุรกิจและผลการวิจัยจากนักวิชาการที่เข้าร่วมแลกเปลี่ยนระหว่างกัน -
นิด้าชำแหละรธน.อัปยศ อัดฉบับ'มีชัย'ปัญหาเยอะ เปรียบโรค'หัวใจรั่ว'อยู่ไม่ได้
(สำนักพิมพ์มติชน, 2016-03-03)
เมื่อวันที่ 2 มีนาคม ที่นิด้า มีการจัดสัมมนาหัวข้อ"เติมเต็มรัฐธรรมนูญ เพื่อนาคตประเทศไทย" มีนักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงจุดดีจุดด้อยของรัฐธรรมนูญฉบับนายมีชัย ไว้หลายประเด็น -
นิด้าเสวนาย้ำเลือกนายกฯตรง
(มติชน, 2014-12-13)
นายสมบัติ ธำรงธัญวงศ์ ประธานกมธ.เสนอให้มีการเลือกตั้งนายกฯ โดยตรง เพราะเห็นว่าประเทศไทยใช้ระบบรัฐสภามาตลอด ถ้า ส.ส.มาจากการเลือกตั้งที่สุจริตและโปร่งใส ก็จะนำมาซึ่งนายกฯ ที่ดีได้ -
บัญชีนายกฯ 'เจตนาดีหรือวาระซ่อนเร้่น'
(เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2015-12-20)
สรุปออกมาเป็นที่เรียบร้อยแล้วสำหรับที่มา"นายกรัฐมนตรี" โดยนายกรัฐมนตรีไม่จำเป็นต้องมาจาก ส.ส.ก็ได้ แต่ต้องมาจากการเลือกในสภาผู้แทนราษฎร โดยบุคลลที่จะได้รับเลือกเป็นนายกฯ ต้องได้รับเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน ส.ส.ในสภา -
ปฏิรูปไม่มีเสียของเสียของคือไม่ปฏิรูป
(สยามรัฐ, 2014-12-09)
เรื่องการปฏิรูปการเมืองกับข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการปฏิรูปการเมือง (กมธ. ปฏิรูปการเมือง) สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ที่เสนอให้มีการเลือกนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี (ครม.) โดยตรง ข้อเสนอแนะนี้จะเป็นไฮไลต์ของการปฏิรูปการเมืองครั้งนี้ไปเลยหากผ่านทุกด่านออกมาได้ เพราะเป็นแนวคิดและแนวทางใหม่ของการได้มาซึ่งผู้บริหารประเทศ คือนายกรัฐมนตรี และ ครม. -
ผ่าโมเดลปฏิรูปการเมือง'ฉบับนิด้า'
(อารีน่า มีเดีย, 2015-02-14)
ปัญหาการเมืองไทยเป็นปัญหาที่ซับซ้อนยุ่งยาก ปัญหาหลักของประเทศมาจากการเมือง โดยต้องแก้ที่ต้นเหตุไม่ใช่แก้ที่อาการ ถ้ามองในเชิงวิชาการต้องพัฒนาประชาชนก่อน คือให้เขามีส่วนในการใช้อำนาจ คือการปกครองโดยประชาชนไม่ใช่อำนาจรัฐ -
แผน'รณรงค์ร่างระน.'โจทย์ใหญ่ความเข้าใจประชาชน
(เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2016-05-30)
แผนประชาสัมพันธ์ร่างรัฐธรรมนูญของ"กรรมการร่างรัฐธรรมนูญ(กรธ.)"ได้ดำเนินมาถึงขั้นตอนในการปั้น"วิทยากรระดับอำเภอ"หรือ"ครู ข" ขณะเดียวกันก็ได้มีคำถามตามมาเกี่ยวกับแผนประชาสัมพันธ์ดังกล่าวว่าจะได้ผลต่อการรับรู้ของประชาชนมากน้อยเพียงใด มีเสียงวิจารณ์จากนักวิชาการที่ได้แสดงความคิดเห็นต่อแผนประชาสัมพันธ์นี้ พร้อมมีข้อเสนอแนะที่น่าสนใจอีกหลายประเด็น