Browsing by Subject "แรงงาน"
Now showing items 1-14 of 14
-
THAN DATA จำนวนแรงงานของประเทศในอาเซียนแบ่งตามประเภทธุรกิจ
(ฐานเศรษฐกิจ, 2016-10-28)
THAN DATA จำนวนแรงงานของประเทศในอาเซียนแบ่งตามประเภทธุรกิจ -
การบริหารงานการผลิตช่างฝีมือพลเรือนในความช่วยเหลือขององค์การ สปอ.
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, [1966?]);
ความมุ่งหมายของวิทยานิพนธ์เพื่อศึกษาให้ทราบถึงลักษณะและข้อเท็จจริงของการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจขององค์การ ส.ป.อ. ในการผลิตช่างฝีมือพลเรือนในประเทศไทยว่ามีอยู่อย่างไร มีหน่วยงานใดบ้างที่ทำหน้าที่รับผิดชอบและเกี่ยวข้องในโครงการ ตลอดจนดำเนินงานฝึกสอนช่างฝีมือว่าเป็นไปในลักษณะใดเหมาะสมหรือไม่เพียงใด และพยายามศึกษาให้ทราบที่มาของปัญหาในการบริหารของโครงการหรือหาทางแก้ไข ตลอดจนประเมินผลงานของโครงการช่างฝีมือที่ดำเนินมาว่าสำเร็จตามวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด -
ข้อเสนอ'แรงงานไทย'ปรับค่าแรง-เพิ่มคุณภาพ
(สำนักพิมพ์มติชน, 2017-04-30)
มีความเห็นของภาคเอกชน ผู้นำแรงงาน และนักวิชาการ ถึงข้อเสนอปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ และเพิ่มคุณภาพชีวิตให้แรงงาน เนื่องในวันแรงงานแห่งชาติ 1 พฤษภาคม -
ความ(ไม่)พร้อม แรงงานไทยยุค 4.0
(สำนักพิมพ์บางกอกโพสต์, 2017-03-27)
ประเทศไทย 4.0 เป็นชื่อของโมเดลในการพัฒนาเศรษฐกิจที่รัฐบาลปัจจุบันกำลังให้ความสำคัญและเชื่อว่า จะเป็นโมเดลที่จำเป็นต่อการนำประเทศไปสู่ความ"มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน" การขับเคลื่อนประเทศในรูปแบบดพังกล่าว "คน" คือศูนย์กลางที่สำคัญที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงได้ แต่เมื่อเรามามองตลาดแรงงานไทยว่ามีความพร้อมเพียงใด โดยส่วนตัวผู้เขียนมีความเห็นว่า ตลาดแรงงานไทยยังไม่มีความพร้อมในการเตรียมตัวเป็นประเทศไทย 4.0 เท่าใดนัก -
ความแปลกแยกของแรงงานในอุตสาหกรรมไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1987);
จากผลการศึกษาสรุปได้ว่า แรงงานในอุตสาหกรรมไทยมีความแปลกแยกดำรงอยู่ในระดับสูง เกือบทุกลักษณะของความแปลกแยก อันได้แก่ สภาวะเหินห่างจากตนเอง สภาวะไร้อำนาจ สภาวะไร้ความหมาย สภาวะสิ้นหวัง เว้นแต่สภาวะปรปักษ์เท่านั้นที่ดำรงอยู่ในระดับไม่สูงนัก ลักษณะของความแปลกแยกแต่ละลักษณะมีประเด็นที่ค้นพบแตกต่างกันไปบ้างดังนี้ -
ค่าทดแทนของลูกจ้างที่ประสพอันตรายในการทำงาน : ศึกษาเฉพาะกรณีการบริหารงานของกรมแรงงานในจังหวัดพระนคร-ธนบุรี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1967);
การศึกษาเรื่องนี้มุ่งเน้นถึงเรื่องการให้ความช่วยเหลือแก่ลูกจ้างที่ประสบอันตรายจากการทำงาน จากการศึกษากฎหมายแรงงานตามพระราชบัญญัติแรงงานปรากฏว่า กฎหมายค่าทดแทนที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันไม่สามารถให้ความคุ้มครองและให้ประโยชน์ทดแทนแก่ลูกจ้างที่ประสบอันตรายตามที่กำหนดไว้ได้อย่างแท้จริง ข้อบกพร่องของกฎหมายนี้ยังเป็นอุปสรรคขัดข้องต่อการบริหารงานของเจ้าหน้าที่ ทำให้ไม่สามารถปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพตามต้องการได้ ผู้เขียนได้เสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และวิธีการดำเนินงานในเรื่องนี้ไว้ใหม่ คือ.- -
จับทิศทรัพยากรคน ฝ่าอาเซียนบวก 6
(โพสต์ พับลิชชิง, 2014-11-13)
การบริหารทรัพยากรบุคคลเป็นหัวใจสำคัญของการผลักดันองค์กรสู่ความสำเร็จ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ นิด้า อยู่ระหว่างการจัดทำงานวิจัยแนวโน้มการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ปี 2557-2558 โดยศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของไทยกับประเทศในอาเซียนบวก 6 รวมถึงแนวโน้มงานทรัพยากรมนุษย์ในอาเซียน -
เชื่อม'โลกการศึกษา'กับ'โลกการทำงาน
(สำนักพิมพ์บางกอกโพสต์, 2017-04-24)
ความไม่พร้อมของตลาดแรงงานไทยที่จะเป็นอุปสรรค์ให้ประเทศอาจไม่สามารถก้าวไปสู่ยุค Thailand 4.0 ได้ ไม่ว่าจะเป็นความไม่พร้อมของระบบการศึกษา ความไม่พร้อมในการจับคู่คนกับงาน ความไม่พร้อมในการฝึกอบรมและพัฒนาฝีมือแรงงานทั้งระบบ ซึ่งความไม่พร้อมทั้งหมดนี้ได้ส่งผลต่อการถดถอยของผลิตภาพแรงงาน คำถามคือ ภาครัฐจะสามารถทำอย่างไรได้บ้างเพื่อจะสร้างความพร้อมดังกล่าว คำตอบก็คือ ภาครัฐควรจะสร้างระบบที่จะสามารถเชื่อมโลกของการศึกษากับโลกของการทำงานให้เข้าหากัน เพื่อแรงงานได้เกิดโอกาสของการเรียนรู้ตลอดชีวิต -
"ดร.พิริยะ"แนะ"คนรุ่นใหม่" เลือกงานด้วยใจ อยู่กับงานได้นาน
(เว็บไซต์บ้านเมือง, 2020-05-02)
ด้วยการเติบโตมาในยุคแห่งเทคโนโลยี คนรุ่นใหม่จึงมีพฤติกรรมและวิถีการใช้ชีวิตที่แตกต่างจากคนรุ่นเก่า ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะเรื่องของการทำงาน ศ.ดร.พิริยะ ผลพิรุฬห์ ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาพัฒนาการเศรษฐกิจ นิด้า มีคำแนะนำดีๆ ให้คนรุ่นใหม่ได้เตรียมตัวกับตลาดแรงงานที่กำลังรออยู่ รวมถึงแนวทางให้องค์กรหรือหน่วยงานนำไปปรับใช้ เพื่อตอบรับวิถีการทำงานของรุ่นใหม่มากขึ้น -
ปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงาน
(สำนักพิมพ์บางกอกโพสต์, 2018-08-27)
การพัฒนาทางเศรษฐกิจของไทยในช่วงที่ผ่านมาหลายกรณีเกิดการเคลื่อนย้ายของแรงงานที่ไม่ได้เป็นไปตามกลไกของตลาด ทำให้การเคลื่อนย้ายของแรงงานมีต้นทุนที่สูงขึ้น ต้นทุนบางส่วนไม่ได้รับการชดเชยด้วยค่าจ้างแรงงานที่เหมาะสม เป็นเหตุให้แรงงานที่เคลื่อนย้ายไปต้องแบกรับต้นทุนไว้เอง กลายเป็นปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ -
เปิดตัวเลขวิเคราะห์สภาพ'จ้างงาน-ว่างงาน'
(สำนักพิมพ์มติชน, 2016-07-22)
ข้อมูลและตัวเลขของสภาพการจ้างงาน และการว่างงานของกลุ่มอาชีพต่างๆ รวมถึงบัณฑิตในระดับปริญญาตรีที่จบการศึกษาใหม่ในปัจจุบัน ที่ได้รับผลกระทบจากสภาพเศรษฐกิจและภาวะภัยแล้งในช่วงที่ผ่านมา -
เพิ่มทักษะแรงงานดิจิทัล แก้ปัญหา'ป.ตรี'ตกงาน
(เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2018-06-29)
การเดินหน้ายกระดับเศรษฐกิจไทยให้ทัดเทียมทุกประเทศในโลก การทำงานในอนาคต เรื่องทักษะดิจิทัล ไอทีและภาษามีความจำเป็นอย่างมาก เพราะการทำงานที่มีทักษะเหล่านี้ ล้วนเพิ่มรายได้ให้สูงขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นการศึกษาในวันนี้ต้องเพิ่มทักษะด้านเทคโนโลยีในทุกวิชาชีพให้แก่บัณฑิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและรายได้แก่แรงงานไทย -
สวัสดิการอุตสาหกรรม : ปัจจัยสำคัญที่กำหนดขอบข่ายสวัสดิการอุตสาหกรรมไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1994);