Browsing สำนักงานอธิการบดี by Submit Date
Now showing items 21-40 of 176
-
วิชาการเพื่อสังคม
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
พ.ศ.2520 ประเทศไทยประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจมาแล้ว 3 ฉบับ ส่งผลให้ประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงในภาคอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว สถาบันจึงก่อตั้งศูนย์บริการวิชาการ เป็นศูนย์บริการวิชาการแห่งแรกของสถาบันการศึกษาชั้นสูงในประเทศไทย เพื่อให้คณาจารย์ของสถาบันได้ใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการให้คำแนะนำและปรึกษาแก่ภาครัฐและเอกชน -
ค้นหา ยกระดับ โฆษณาไทย
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
เมื่อวงการโทรทัศน์พัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว ภาพยนตร์โฆษณามีผลกระทบต่อสังคมมากขึ้น สถาบันการศึกษา 3 แห่ง ได้แก่ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รวบรวมภาพยนตร์โฆษณา 10 เรื่องเด่นในแต่ละปี เพื่อเขียนเป็นบทความลงในวารสาร ต่อมาได้พัฒนาจนกลายเป็นการประกวดโฆษณายอดเยี่ยมประจำปี2519 และใน พ.ศ.2524 ได้ขยายเป็นการประกวดโฆษณายอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย หรือ TACT Award -
สร้างเครือข่ายในภูมิภาค
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 5 มีเป้าหมายที่จะกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาเศรษฐกิจและยกระดับชีวิตของผู้คนในชนบทสถาบันจึงขานรับด้วยการร่วมมือกับมูลนิธิเพื่อสถาบันการศึกษาวิชาการจัดการแห่งประเทศไทย (IMET) จัดโครงการสัมมนานักธุรกิจชั้นนำส่วนภูมิภาค หรือโครงการ NIDA IMET ขึ้น -
การฝึกอบรมเพื่อการพัฒนา
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
ในยุคเริ่มต้นของการก่อตั้งสถาบันมีหน่วยราชการไม่กี่แห่งที่ฝึกอบรมนักบริหารระดับสูงซึ่งสถาบันดำเนินการฝึกอบรมโดยคณะและสำนักในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องใน พ.ศ.2555 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานชื่อใหม่แก่สำนักฝึกอบรมว่า "สำนักสิริพัฒนา” หมายถึง สำนักที่มีหน้าที่จัดการพัฒนาอันดียิ่งเป็นสิริมงคลอย่างหาที่เปรียบมิได้แก่สถาบัน และเจ้าหน้าที่ทุกคน -
การวิจัยเพื่อต่อยอดความรู้
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
การวิจัย เป็นสิ่งจำเป็นและขาดไม่ได้ในสถาบันการศึกษาระดับสูง และเป็นการเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ทำวิจัย สถาบันเล็งเห็นความสำคัญของการวิจัยได้จัดตั้งกองทุนส่งเสริมงานวิจัยเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคลากรทั้งคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ให้ -
ค้นหา สืบเสาะ รวบรวม ศูนย์ข่าวจีระ บุญมาก
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2535 ประชาชนชุมนุมขับไล่เผด็จการบนถนนราชดำเนิน เหตุการณ์ทวีความรุนแรงและจบลงด้วยการสลายการชุมนุมในคืนวันที่ 17 พฤษภาคม หลังจากนั้นมีผู้ร่วมชุมนุมบาดเจ็บ ถูกจับกุมและสูญหาย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ได้จัดตั้ง “ศูนย์ข่าว จีระ บุญมาก”เพื่อเป็นศูนย์ประสานงานในการสืบหาคนหาย โดยให้เจ้าหน้าที่ของสถาบันเป็นอาสาสมัครตลอด24ชั่วโมง -
การขยายโอกาสทางการศึกษา
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
สถาบันได้เปิดมิติใหม่ทางการศึกษาในปี พ.ศ.2530 เมื่อคณะรัฐประศาสนศาสตร์เปิดหลักสูตรปริญญาโทภาคพิเศษสำหรับนักบริหาร ทำการสอนนอกเวลาราชการเพื่อให้ผู้ที่ไม่สามารถมาเรียนในเวลาปกติได้มีโอกาสศึกษาต่อในปีต่อมา คณะต่างๆ ได้เปิดการเรียนการสอนภาคพิเศษในกรุงเทพมหานครมากขึ้น -
Ray of his aspirations
(Library and Information Center, National Institute of Development Administration, 2021-10)
The genesis of the National Institute of Development Administration as inspire by His Majesty King Bhumibol ’s vision of producing quality personnel for advancing Thailand ’ s development , which the collaboration of many institution from Thailand and foreign country. -
ค่าFTคำนวณค่าไฟฟ้าด้วยราคาเป็นธรรม
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-11)
ในอดีตการไฟฟ้าคิดอัตราค่าไฟฟ้าจากต้นทุนการผลิตและกำไรโดยมีมติคณะรัฐมนตรีประกาศขึ้นค่าไฟฟ้าทุกครั้งแต่ในทศวรรษ2520ราคาน้ำมันในตลาดโลกสูงขึ้นอย่างรวดเร็วส่งผลให้ประเทศไทยต้องประกาศขึ้นค่าไฟฟ้าหลายครั้งรศ.ดร.วิชิตหล่อจีระชุณห์กุลและรองศาสตราจารย์ดร.ธีระพงษ์วิกิตเศรษฐได้เสนอสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ(Ft)ซึ่งเป็นวิธีการคำนวณที่ปรับเปลี่ยนไปตามต้นทุนที่แท้จริงเพื่อให้สามารถปรับค่าไฟฟ้าได้ทันการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของราคาเชื้อเพลิง -
ประกันต้นทุนการผลิตเพื่อชาวนาไทย
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมแต่ชาวนาส่วนใหญ่ยังคงยากจนเพราะทำนาได้เพียงปีละ1ครั้งหากเกิดน้ำท่วมหรือฝนแล้งชาวนาจะสูญเสียต้นทุนและรายได้ทั้งหมดแม้ว่ารัฐบาลจะให้ความช่วยเหลือแต่ก็ไม่ทันท่วงทีชาวนาต้องกู้เงินเพื่อทำนาครั้งใหม่เกิดหนี้สินทับถมมากขึ้นทางออกจึงอยู่ที่“การประกันต้นทุนการผลิต”วิธีการนี้เป็นข้อเสนอหนึ่งของนักวิชาการจากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ต่อรัฐบาลเพื่อช่วยเหลือให้ชาวนามีโอกาสประกันความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับต้นทุนและมีโอกาสหลุดพ้นจากวงจรความยากจนต่อไปในอนาคต -
พอเพียงอย่างเพียงพอ
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
ปีพ.ศ.2540เกิดวิกฤตเศรษฐกิจอย่างรุนแรงส่งผลให้ทั้งประชาชนและรัฐบาลทบทวนแนวทางการใช้ชีวิตและการพัฒนาประเทศครั้งใหญ่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เป็นหลักคิดและแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืนจากนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับสนองพระราชดำริและนำไปขยายผลสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ในฐานะสถาบันการศึกษาชั้นสูงได้ก่อตั้งศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นในปีพ.ศ.2547 -
ศูนย์การศึกษาสีคิ้ว
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
ศูนย์การศึกษาสีคิ้วจ.นครราชสีมาเป็นศูนย์การศึกษาแห่งแรกที่สถาบันมีอาคารเรียนของตนเองโดยศิษย์เก่าคณะรัฐประศาสนศาสตร์ จ.นครราชสีมารุ่นที่1-3เสนอให้สร้างอาคารเรียนและได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์เจ้าหน้าที่คณะรัฐประศาสนศาสตร์ และพระธรรมมงคลญานเจ้าอาวาสวัดธรรมมงคลร่วมกันบริจาคเงินสร้างอาคารเรียนและในวันที่24ตุลาคมพ.ศ.2538สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวง ณ ศูนย์การศึกษาแห่งนี้เป็นความปลื้มปิติและเป็นสิริมงคลแก่ชาวสถาบันฯ อย่างล้นพ้น -
การศึกษาระดับปริญญาเอกและวิทยาลัยนานาชาติ
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
การเปิดสอนระดับปริญญาเอกและวิทยาลัยนานาชาติของสถาบันซึ่งเป็นการเตรียมพร้อมรับการพัฒนาในระดับภูมิภาคเช่นAECและในระดับโลกต่อไปในอนาคต -
สร้างปัญญาเพื่อการเปลี่ยนแปลง
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
สถาบันดำเนินการต่อเนื่องมานานเกือ5ทศวรรษและยังคงมุ่งมั่นพัฒนาสู่มาตรฐานโลกด้วยแนวทางสร้างปัญญาเพื่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อผลิตกำลังคนที่มีความรู้และทรงคุณค่าเพื่อสร้างปัญญาเพื่อการเปลียนแปลงอันเป็นหัวใจในการพัฒนาของสถาบันสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ -
โตไปไม่โกง
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
การทุจริตคอร์รัปชันเป็นปัญหาที่รุนแรงและฝังรากลึกในสังคมไทยหนทางแก้ไขอย่างยั่งยืนคือการสร้างค่านิยมใหม่ที่ปฏิเสธการทุจริตคอร์รัปชันและกลโกงทุกรูปแบบโดยเฉพาะการปลูกฝังตั้งแต่ยังเล็กในปีพ.ศ.2553ศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม ร่วมกับกรุงเทพมหานครจัดทำหลักสูตร“โตไปไม่โกง”เพื่อสอนนักเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร -
ห้องสมุดมีชีวิต
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
เมื่อแรกก่อตั้งมีสถานะเทียบเท่ากับคณะมีทรัพยากรสารสนเทศสาขาพัฒนบริหารศาสตร์ที่ทันสมัยครอบคลุมห้องสมุดได้ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมให้เป็นแหล่งค้นคว้าและเรียนรู้อย่างมีความสุขช่วยกระตุ้นและเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้ใช้อยากเข้ามาใช้บริการห้องสมุดห้องสมุดได้นำระบบห้องสมุดอัตโนมัติ( E-Library )มาใช้ -
สถาบันการศึกษาระดับสากล
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
จากอดีตจวบจนปัจจุบันในทศวรรษที่ 6 สถาบันยังคงให้ความสำคัญต่อคุณภาพหลักสูตรการศึกษาอย่างต่อเนื่องทุกคณะที่เปิดทำการเรียนการสอนของนิด้า ผ่านการรับรองหลักสูตรการศึกษาตามมาตรฐานสากลจากหลากหลายองค์กร ได้แก่ AACSB (Association to Advance Collegiate School of Business) , TedQual (Tourism Education Quality) รวมไปถึงการได้รับการรับรองคุณภาพระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ของ AUN - QA (ASEAN University Network Quality Assurance) นอกจากนี้หน่วยงานสนับสนุนของสถาบันยังได้รับการรับรองระบบการบริหารจัดการจากองค์กร ISO (International Standard Organization) -
สร้างเครือข่ายกับมหาลัยชั้นนำทั่วโลก
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ได้ดำเนินการสร้างความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่างประเทศที่มีความโดดเด่นในสาขาวิชาต่าง ๆ มาอย่างต่อเนื่อง ที่ผ่านมาได้มีการลงนามบันทึกข้อตกลงกับต่างประเทศมากกว่า 100 ฉบับ ร่วมกับสถาบันการศึกษาชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ทั้งในทวีป อเมริกา ยุโรป แอฟริกา ออสเตรเลีย และทวีปเอเชียปัจจุบัน นิด้ามีนักศึกษาต่างชาติกว่า 400 คนจาก 35 ประเทศที่เดินทางมาศึกษาและแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการสร้างเครือข่ายแห่งการศึกษาที่มีประสิทธิภาพระหว่างประเทศ และสถาบันยังคงแสวงหาความร่วมมือกับสถาบันชั้นนำในต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจ ... -
โครงการเมืองอัจฉริยะ
(สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
NIDA Smart Compact City เป็น 1 ใน 7 โครงการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่ได้รับรางวัลจากโครงการ Smart City-Clean Energy ของกระทรวงพลังงาน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของสถาบันที่พร้อมเป็นศูนย์กลางของการพัฒนากรุงเทพตะวันออกไปสู่การเป็นสังคมที่สร้างคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน