การตรวจราชการและการบริหารงานในหน้าที่จเรตำรวจ กรมตำรวจ
Publisher
Issued Date
1968
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
225 หน้า.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สุวรรณ สุวรรณเวโช (1968). การตรวจราชการและการบริหารงานในหน้าที่จเรตำรวจ กรมตำรวจ. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1008.
Title
การตรวจราชการและการบริหารงานในหน้าที่จเรตำรวจ กรมตำรวจ
Alternative Title(s)
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของจเรตำรวจในสมัยปัจจุบันโดยยึดถือระเบียบข้อบังคับของทางราชการ ประกอบกับพฤติกรรมของจเรตำรวจที่แสดงออกในการบริหารเป็นหลัก ลักษณะของงานประเภทใหญ่ ๆ ของจเรตำรวจ คือ การตรวจงาน ตรวจตัวบุคคล และตรวจสถานที่ราชการของกรมตำรวจ เพื่อให้ทราบว่าได้ดำเนินไปตามระเบียบแบบแผน กฎ ข้อบังคับ คำสั่ง มติคณะรัฐมนตรี ตลอดจนโครงการและแผนงานที่วางไว้หรือไม่ ประชาชนได้รับผลในการปฏิบัติราชการของตำรวจสมตามนโยบาย หรือความมุ่งหมายของทางราชการมากน้อยเพียงใด เป็นต้น
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของจเรตำรวจในสมัยปัจจุบันโดยยึดถือระเบียบข้อบังคับของทางราชการ ประกอบกับพฤติกรรมของจเรตำรวจที่แสดงออกในการบริหารเป็นหลัก ลักษณะของงานประเภทใหญ่ ๆ ของจเรตำรวจ คือ การตรวจงาน ตรวจตัวบุคคล และตรวจสถานที่ราชการของกรมตำรวจ เพื่อให้ทราบว่าได้ดำเนินไปตามระเบียบแบบแผน กฎ ข้อบังคับ คำสั่ง มติคณะรัฐมนตรี ตลอดจนโครงการและแผนงานที่วางไว้หรือไม่ ประชาชนได้รับผลในการปฏิบัติราชการของตำรวจสมตามนโยบาย หรือความมุ่งหมายของทางราชการมากน้อยเพียงใด เป็นต้น
1. ในด้านการจัดองค์การ สำนักงานจเรตำรวจควรจัดแบ่งออกเป็น 2 กองกำกับการ และมีแผนกกลาง แผนกการเงินและพัสดุ แผนกสถิติ และแผนภูมิขึ้นตรงต่อสำนักงานจเรตำรวจ
2. เกี่ยวกับสภาพสถานที่ทำงานและสิ่งแวดล้อม ให้ปรับปรุงหรือก่อสร้างอาคารสำนักงานจเรตำรวจให้เหมาะสม
3. ให้จเรตำรวจมีอำนาจตรวจราชการทางด้านตัวบุคคล และอาคารสถานที่ในกองบังคับการตำรวจสันติบาล
4. พิจารณาแต่งตั้ง ผู้ที่เหมาะสม ให้ดำรงตำแหน่งจเรตำรวจ โดยเฉพาะควรจะพิจารณาแต่งตั้งจากผู้บัญชาการอาวุโสเป็นอันดับแรก
5. ไม่แต่งตั้งผู้กระทำผิดหรือบุคคลที่กรมตำรวจไม่พึงปรารถนามาดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการ.
6. ให้สำนักงานเลขานุการกรมทำหน้าที่บริหารงานบุคคลหรือตราพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตำรวจขึ้นต่างหาก เพื่อจะได้มีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของกรมตำรวจโดยเฉพาะ
7. ส่งเสริมขวัญในการทำงานด้วยการพิจารณาให้ความดีความชอบด้วยความเป็นธรรม และสนับสนุนให้เกิดสัมพันธภาพในหมู่ข้าราชการสำนักงานจเรตำรวจขึ้น
8. หาวิธีที่จะให้ทราบข้อเท็จจริงในการตรวจราชการให้ได้แน่นอนยิ่งขึ้น
9. ให้มีการตรวจราชการในปีหนึ่ง ๆ บ่อยครั้งขึ้น
10. จัดให้มีการประเมินผลของการตรวจราชการ และผลที่หน่วยงานต่าง ๆ ได้รับจากการตรวจราชการ.
11. หาลู่ทางให้เกิดความร่วมมือประสานงานกันกับหน่วยงานต่าง ๆ ในกรมตำรวจ
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของจเรตำรวจในสมัยปัจจุบันโดยยึดถือระเบียบข้อบังคับของทางราชการ ประกอบกับพฤติกรรมของจเรตำรวจที่แสดงออกในการบริหารเป็นหลัก ลักษณะของงานประเภทใหญ่ ๆ ของจเรตำรวจ คือ การตรวจงาน ตรวจตัวบุคคล และตรวจสถานที่ราชการของกรมตำรวจ เพื่อให้ทราบว่าได้ดำเนินไปตามระเบียบแบบแผน กฎ ข้อบังคับ คำสั่ง มติคณะรัฐมนตรี ตลอดจนโครงการและแผนงานที่วางไว้หรือไม่ ประชาชนได้รับผลในการปฏิบัติราชการของตำรวจสมตามนโยบาย หรือความมุ่งหมายของทางราชการมากน้อยเพียงใด เป็นต้น
1. ในด้านการจัดองค์การ สำนักงานจเรตำรวจควรจัดแบ่งออกเป็น 2 กองกำกับการ และมีแผนกกลาง แผนกการเงินและพัสดุ แผนกสถิติ และแผนภูมิขึ้นตรงต่อสำนักงานจเรตำรวจ
2. เกี่ยวกับสภาพสถานที่ทำงานและสิ่งแวดล้อม ให้ปรับปรุงหรือก่อสร้างอาคารสำนักงานจเรตำรวจให้เหมาะสม
3. ให้จเรตำรวจมีอำนาจตรวจราชการทางด้านตัวบุคคล และอาคารสถานที่ในกองบังคับการตำรวจสันติบาล
4. พิจารณาแต่งตั้ง ผู้ที่เหมาะสม ให้ดำรงตำแหน่งจเรตำรวจ โดยเฉพาะควรจะพิจารณาแต่งตั้งจากผู้บัญชาการอาวุโสเป็นอันดับแรก
5. ไม่แต่งตั้งผู้กระทำผิดหรือบุคคลที่กรมตำรวจไม่พึงปรารถนามาดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการ.
6. ให้สำนักงานเลขานุการกรมทำหน้าที่บริหารงานบุคคลหรือตราพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตำรวจขึ้นต่างหาก เพื่อจะได้มีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของกรมตำรวจโดยเฉพาะ
7. ส่งเสริมขวัญในการทำงานด้วยการพิจารณาให้ความดีความชอบด้วยความเป็นธรรม และสนับสนุนให้เกิดสัมพันธภาพในหมู่ข้าราชการสำนักงานจเรตำรวจขึ้น
8. หาวิธีที่จะให้ทราบข้อเท็จจริงในการตรวจราชการให้ได้แน่นอนยิ่งขึ้น
9. ให้มีการตรวจราชการในปีหนึ่ง ๆ บ่อยครั้งขึ้น
10. จัดให้มีการประเมินผลของการตรวจราชการ และผลที่หน่วยงานต่าง ๆ ได้รับจากการตรวจราชการ.
11. หาลู่ทางให้เกิดความร่วมมือประสานงานกันกับหน่วยงานต่าง ๆ ในกรมตำรวจ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2511.