การบริหารงานเรือนจำกลางบางขวาง
Publisher
Issued Date
1969
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
174 หน้า.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
กลืน สีตะธนี (1969). การบริหารงานเรือนจำกลางบางขวาง. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1037.
Title
การบริหารงานเรือนจำกลางบางขวาง
Alternative Title(s)
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
เป็นการศึกษาที่มุ่งเน้นในเรื่องนโยบาย และการปฏิบัติตามแผนการจัดองค์การ และเจ้าหน้าที่ว่าได้ดำเนินไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ โดยเฉพาะการบริหารงานเกี่ยวกับผู้ต้องขัง นโยบายของการราชทัณฑ์ปัจจุบันมิได้มุ่งแต่เพียงป้องกันการหลบหนีของผู้ต้องโทษแต่เพียงอย่างเดียว แต่มีเจตน์จำนงที่จะเสริมสร้างให้ผู้ถูกคุมขังสามารถสำนึกตนรู้จัดผิดชอบชั่วดี และสามารถออกไปประกอบอาชีพ ประพฤติตนเป็นพลเมืองดีของสังคมได้ภายหลังการปลดปล่อย ในการบริหารนี้จึงจำต้องมีการวางแผนปฏิบัติโดยละเอียดให้สอดคล้องกับนโยบาย.
ผู้เขียนได้เสนอแนะข้อปรับปรุงที่สำคัญไว้ 5 ประการคือ 1. ลดจำนวนผู้ต้องขังให้น้อยลงกว่าปัจจุบัน เพื่อจะได้ดูแลสอดส่องได้ทั่วถึง 2. ควรมีการแก้ไขพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ 2499 3. จัดให้มีเจ้าหน้าที่เฉพาะวิชาที่ชำนาญวิชาการสาขาต่าง ๆ เช่น นักสังคมสงเคราะห์ 4. แก้ไขการตรวจตราเรือนจำให้มีประสิทธิภาพ เพื่อสอดส่องให้เจ้าหน้าที่เรือนจำปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบแบบแผนจริง ๆ และ 5. เพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่เพื่อจะได้สามารถแยกเจ้าหน้าที่ออกแต่ละหน้าที่เป็นสัดสวนได้
ผู้เขียนได้เสนอแนะข้อปรับปรุงที่สำคัญไว้ 5 ประการคือ 1. ลดจำนวนผู้ต้องขังให้น้อยลงกว่าปัจจุบัน เพื่อจะได้ดูแลสอดส่องได้ทั่วถึง 2. ควรมีการแก้ไขพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ 2499 3. จัดให้มีเจ้าหน้าที่เฉพาะวิชาที่ชำนาญวิชาการสาขาต่าง ๆ เช่น นักสังคมสงเคราะห์ 4. แก้ไขการตรวจตราเรือนจำให้มีประสิทธิภาพ เพื่อสอดส่องให้เจ้าหน้าที่เรือนจำปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบแบบแผนจริง ๆ และ 5. เพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่เพื่อจะได้สามารถแยกเจ้าหน้าที่ออกแต่ละหน้าที่เป็นสัดสวนได้
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2512.