• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การปกครองส่วนภูมิภาคของไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีการจัดรูปแบบหน่วยปกครอง

by ประสาร ทิพยเกษร

Title:

การปกครองส่วนภูมิภาคของไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีการจัดรูปแบบหน่วยปกครอง

Author(s):

ประสาร ทิพยเกษร

Advisor:

ประทาน คงฤทธิศึกษากร, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

รัฐประศาสนศาสตร์

Degree department:

คณะรัฐประศาสนศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

1970

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

ศึกษาเรื่องการจัดรูปแบบการปกครองในส่วนภูมิภาค หรือการปกครอง อาณาเขตในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช โดยเฉพาะการจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาล ซึ่งมีลักษณะรูปแบบคล้ายคลึงกับภาค โดยการวิเคราะห์ถึงมูลเหตุของการจัดตั้ง และการยุบเลิกมณฑลเทศาภิบาล ข้อดี และข้อจำกัดของการบริหารราชการในรูปแบบมณฑลเทศาภิบาล กล่าวถึงปัญหาเกี่ยวกับการจัดรูปแบบหน่วยปกครองระบบภาคของไทย เป็นการศึกษาวิวัฒนาการการปกครองส่วนภูมิภาคของไทยภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตยแล้ว โดยชี้ให้เห็นว่าการจัดรูปการปกครองส่วนภูมิภาคของไทยนั้นได้เปลี่ยนแปลงไปตามหลักการ หรือทฤษฎีของระบอบการปกครองของประเทศด้วย โดยเฉพาะกรณีปัญหาการจัดรูปแบบหน่วยปกครองในส่วนภูมิภาคในรูปแบบภาค ซึ่งเป็นตัวแบบสำคัญที่นำมาใช้ศึกษาในวิทยานิพนธ์นี้ ในตอนนี้ผู้เขียนจึงมุ่งศึกษาเรื่องราวการจัดตั้งภาคโดยเฉพาะ แล้วศึกษาแนวความคิดที่จะปรับปรุงการปกครองส่วนภูมิภาคของไทยในปัจจุบัน ซึ่งมีแนวความคิดว่า จะนำเอารูปแบบการบริหารราชการส่วนภูมิภาคในแบบภาคหรือมณฑลเทศาภิบาลเดิมกลับมาใช้อีก โดยพิจารณาว่า มีข้อดีและข้อจำกัดต่อการบริหารราชการของประเทศเป็นส่วนรวมในลักษณะใดบ้าง รูปแบบหน่วยปกครองของราชการ บริหารส่วนภูมิภาคที่เหมาะสมนั้นควรเป็นรูปแบบใด

Description:

วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2513.

Subject(s):

การบริหารรัฐกิจ -- ส่วนภูมิภาค

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

213 หน้า.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1048
Show full item record

Files in this item (EXCERPT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b9962ab.pdf ( 126.15 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b9962.pdf ( 5,987.70 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSPA: Theses [297]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×