• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

LoginRegister

การพัฒนาการศึกษาเพื่อบูรณภาพของจังหวัดชายแดนภาคใต้

by ประสิทธิ์ เวชสวรรค์

Title:

การพัฒนาการศึกษาเพื่อบูรณภาพของจังหวัดชายแดนภาคใต้

Author(s):

ประสิทธิ์ เวชสวรรค์

Advisor:

ชุบ กาญจนประกร, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

รัฐประศาสนศาสตร์

Degree department:

คณะรัฐประศาสนศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

1966

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

จังหวัดชายแดนภาคใต้หมายถึง 4 จังหวัดภาคใต้ คือ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ถือศาสนาอิสลาม และจังหวัดชายแดนภาคใต้นี้เคยมีความสัมพันธ์อยู่กับประเทศมาเลเซียมาก่อน จึงทำให้ประชาชนในจังหวัดดังกล่าวไม่ค่อยจะมีความรู้สึกผูกพันกับประเทศไทยเท่าที่ควร เมื่อเป็นเช่นนี้ทำให้จังหวัดชายแดนภาคใต้มีจุดอ่อนเหมาะแก่การดำเนินการของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์อยู่แทบทุกด้าน วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาเรื่องพัฒนาการศึกษาของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งประกอบด้วยแผนการศึกษาของชาติ โครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูมิภาค โครงการพัฒนาการศึกษาและโครงการศึกษาของแผนพัฒนาภาคใต้ ปัญหาทางการศึกษาของภาคใต้ที่สำคัญคือ ประชาชนขาดความสนใจในการศึกษา ประชาชนเรียนหนังสือจบแล้วแต่ไม่รู้หนังสือ ประชาชนไม่พูดภาษาไทย ปัญหาของปอเนาะ ประชาชนบางกลุ่มนิยมส่งบุตรหลานไปเรียนหนังสือในมาเลเซีย เหล่านี้เป็นต้น วิทยานิพนธ์ได้เสนอแนะการแก้ไขปัญหาเหล่านี้โดยสรุปทางแก้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.-
การพัฒนาการศึกษาโดยตรง ได้แก่.- 1. การปรับปรุงการจัดการศึกษาให้ดีขึ้น 2. การยกระดับการศึกษาให้สูงขึ้น 3. การทำให้โรงเรียนให้เป็นที่ดึงดูดความสนใจ 4. การแก้การศึกษาของปอเนาะให้ถูกทาง.
การพัฒนาการศึกษาโดยทางอ้อม ได้แก่.- 1. การแก้ความไม่กระตือรือร้นในอาชีพ 2. การแก้ความตระหนี่ต่อการศึกษา 3. ให้ใช้เด็กในทางที่ถูก 4. การแก้ความรู้สึกทางชาตินิยมให้ถูก 5. ใช้การติดต่อให้เป็นประโยชน์แก่การศึกษา 6. การสร้างสัญญลักษณ์แห่งความเป็นไทย.

Description:

วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2509.

Subject(s):

การศึกษากับรัฐ -- ไทย (ภาคใต้)
การพัฒนาการศึกษา

Keyword(s):

นโยบายการศึกษา
ไทย
ภาคใต้
มุสลิม

Resource type:

Thesis

Extent:

199 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Access rights:

สงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเอกสารฉบับเต็มเฉพาะ นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์เท่านั้น

Rights holder(s):

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1070
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
nida-ths-b11219.pdf ( 6,004.11 KB )

Files in this item (EXCERPT)

Thumbnail
View
nida-ths-b11219ab.pdf ( 288.29 KB )

This item appears in the following Collection(s)

  • GSPA: Theses [261]
Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

‹›×