การวิเคราะห์กระบวนการกำหนดนโยบายของไทยในภาวะสงครามระหว่างปี พ.ศ. 2481-2485
Publisher
Issued Date
1973
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
120 หน้า.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ปอ ธัชชัย (1973). การวิเคราะห์กระบวนการกำหนดนโยบายของไทยในภาวะสงครามระหว่างปี พ.ศ. 2481-2485. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1086.
Title
การวิเคราะห์กระบวนการกำหนดนโยบายของไทยในภาวะสงครามระหว่างปี พ.ศ. 2481-2485
Alternative Title(s)
An analysis of Thai policy making during the threat of war 1938-1942
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มุ่งวิเคราะห์แนวปฏิบัติในกระบวนการกำหนดนโยบายภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นต้นมา อันเป็นเวลาที่รัฐบาลคณะราษฎร์ต้องเผชิญกับปัญหาความไม่สงบภายในประเทศ ที่แสดงออกถึงการต่อต้าน การไม่ยอมรับอำนาจของคณะราษฎร ความขัดแย้งทางอุดมการการปกครอง ผู้เขียนได้กล่าวถึงแนวความคิดเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายแห่งรัฐ เริ่มต้นตั้งแต่การวิเคราะห์ความหมายของนโยบาย ต่อจากนั้นจึงศึกษาการกำหนดนโยบายของรัฐก่อนภาวะสงคราม โดยกล่าวถึงภูมิหลังของการกำหนดนโยบาย โดยเฉพาะสถานการณ์ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ซึ่งก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทั้งหลักการและตัวบุคคลผู้เข้าทำการบริหารประเทศ ก่อให้เกิดความขัดแย้งความไม่สงบภายในประเทศ เป็นผลให้รัฐบาลต้องกำหนดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า รวมถึงการกำหนดนโยบายเพื่อเรียกร้องความสนใจและความเห็นพ้องของประชาชน วิเคราะห์การประเมินสถานการณ์ การคาดหมายสถานการณ์ การกำหนดนโยบาย และทางเลือกในการตัดสินใจ รวมตลอดถึงผลแห่งการกำหนดนโยบายนั้น ๆ ผู้เขียนได้กล่าวถึงการกำหนดนโยบายแห่งรัฐในภาวะสงคราม ซึ่งรวมถึงการกำหนดนโยบายต่างประเทศ การวางตัวของไทยในภาวะสงครามนับตั้งแต่การทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับประเทศมหาอำนาจ เพื่อประกันความปลอดภัยของไทย จนกระทั่งการเข้าพัวพันในสงคราม ในฐานะเป็นพันธมิตรทางทหารกับญี่ปุ่น การประกาศสงครามกับอังกฤษ และสหรัฐอเมริกา โดยมุ่งหากำไรจากความพ่ายแพ้ของประเทศทั้งสอง.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2516.