Show simple item record

dc.contributor.advisorอัญชนา ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorนริศรา จริยะพันธุ์th
dc.date.accessioned2014-05-05T09:17:18Z
dc.date.available2014-05-05T09:17:18Z
dc.date.issued2012th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1091th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (รป.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012th
dc.description.abstractการวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการจัดการเรียนการสอน 2) เพื่อศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโรงเรียนทางเลือก วิธีการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การศึกษาวิจัยจากเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และ การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มผู้บริหารโรงเรียน กลุ่มครูผู้สอน และกลุ่ มผู้ปกครอง จาก 7 โรงเรียนตาม 7 แนวคิดในการจัดการศึกษา ได้แก แนวคิดการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ ด้วยปัญญา แนวคิดวิถีพุทธ แนวคิดนีโอฮิวแมนนิสต์ แนวคิดไฮสโคป แนวคิดวอลดอร์ฟ แนวคิดเรกจิโอ เอมิเลีย และแนวคิดมอนเตสซอรี่ ผลการศึกษาพบว่า โรงเรียนทางเลือกทุกโรงเรียนมีลักษณะการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้น ผู้เรียนเป็นสําคัญโดยคํานึงถึงความแตกต่างด้านศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน การเรียนรู้ผ่านการลงมือทํา และการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะอย่างหลากหลาย แต่การจัดการเรียนการสอน ที่แตกต่างกัน คือ การจัดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ รูปแบบการจัดกิจกรรม และวิธีการประเมินผล ผู้เรียน สําหรับการจัดทรัพยากรทางการศึกษานั้นโรงเรียนทางเลือกส่วนใหญ่จัดให้มีการใช้สื่อ อุปกรณ์ และการสร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ สําหรับแหล่งที่มาของรายได้ การคัดเลือก ครูผู้สอน การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนและห้องเรียน และการใช้เทคโนโลยีสําหรับการเรียนรู้ ของแตละโรงเรียนมีความแตกต่างกน การศึกษาประสิทธิผลของโรงเรียนทางเลือก พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ปกครองของทุกโรงเรียน มีความพึงพอใจตอแนวคิด วิธีการเรียนการสอน คุณลักษณะของครูผู้สอนและผู้บริหาร และ ผลลัพธ์ที่เกิดขึนกับผู้เรียน แต่ยังคงมีผู้ปกครองบางส่วนที่มีความกังวลใจต่อโรงเรียนทางเลือกเรื่อง การเข้าศึกษาต่อ และการปรับตัวของนักเรียน ผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา จาก สมศ.ของทุกโรงเรียนมีผลการประเมินเฉลี่ยอยูในระดับดีถึงดีมาก นอกจากนีโรงเรียนทางเลือกยังได้รับ การยอมรับให้เป็นรูปแบบที่จะนําไปใช้ และได้มีการเผยแพร่นวัตกรรมของโรงเรียนโดยการเป็น วิทยากรและที่ปรึกษาให้กับหน่วยงานที่สนใจนํานวัตกรรมไปปรับใช้ แต่จากการศึกษายังคงพบว่า นักเรียนที่สามารถเข้าถึงการศึกษาในโรงเรียนทางเลือกเป็นนักเรียนที่ผู้ปกครองมีความสามารถใน การจ่ายเท่านั้น ข้อเสนอแนะหลักของการศึกษา คือรัฐบาลและหน่วยงานภาครัฐที่เกยวข้องควรทบทวน กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนทางเลือก และควรสนับสนุนให้ นักเรียนที่ครอบครัวมีรายได้น้อยมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาในโรงเรียนทางเลือกth
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2014-05-05T09:17:18Z (GMT). No. of bitstreams: 1 nida-ths-b176603.pdf: 42316600 bytes, checksum: d1d4850546fa3a896813d93a71ebceb2 (MD5) Previous issue date: 2012th
dc.format.extent188 แผ่น ; 30 ซม.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectโรงเรียนทางเลือกth
dc.subject.lccLB 1025 น17 2012th
dc.subject.otherการสอนth
dc.subject.otherระบบการเรียนการสอนth
dc.titleการศึกษาการจัดการเรียนการสอนและประสิทธิผลของโรงเรียนทางเลือกth
dc.title.alternativeA study of the instructional management and the effectiveness of alternative schoolsstudy on Ban Khum Dam Projectth
dc.typeTextth
mods.genreวิทยานิพนธ์th
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth
thesis.degree.levelปริญญาโทth
thesis.degree.disciplineรัฐประศาสนศาสตร์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.departmentคณะรัฐประศาสนศาสตร์th
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2012.26


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record