การสนองตอบของประชาชนต่อการพัฒนาชุมชน : บทศึกษาเฉพาะกรณีโครงการพัฒนาตำบลสารภี อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา
Publisher
Issued Date
1971
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
262 หน้า.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ชยันต์ วรรธนะภูติ (1971). การสนองตอบของประชาชนต่อการพัฒนาชุมชน : บทศึกษาเฉพาะกรณีโครงการพัฒนาตำบลสารภี อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1101.
Title
การสนองตอบของประชาชนต่อการพัฒนาชุมชน : บทศึกษาเฉพาะกรณีโครงการพัฒนาตำบลสารภี อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา
Alternative Title(s)
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
โครงการพัฒนาตำบลสารภี อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา เป็นโครงการพิเศษร่วมกันระหว่างกรมพัฒนาชุมชนและบริษัทเชลล์แห่งประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้คำแนะนำทางวิชาการ เพื่อให้เกิดความเจริญขึ้นแก่ประชาชนในตำบลนั้น โดยการที่มุ่งจะช่วยให้เขาช2วยตัวเองให้มากที่สุด ให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ แต่อาศัยคำแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคใหม่ ๆ ในการทำงาน
วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาถึงการสนองตอบของประชาชนต่อโครงการนี้ ได้ชี้ให้เห็นปัญหาและข้อเท็จจริงบางส่วนในการดำเนินการพัฒนาตำบลสารภี เช่น ความกว้างใหญ่ของอำเภอสารภี ทำให้การคมนาคมไม่สะดวกกับทั้งมีประชาชนอพยพเข้ามาอยู่มาก ทำให้ไม่สามารถแนะนำได้ทั่วถึง.
ผู้เขียนได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ดังนี้คือ เขตพัฒนาทดลองควรจะเลือกหมู่บ้านใดหมู่บ้านหนึ่ง หรือ 2-3 หมู่บ้านที่ใกล้ ๆ กัน การจะเลือกหมู่บ้านทดลองควรคำนึงถึงปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ควรจัดแนะนำโดยใกล้ชิดต่อผู้ที่เพิ่งจะอพยพเข้ามาอยู่ที่นั้น เพื่อให้เข้าร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน และควรจะทำการศึกษาและวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับทัศนคติของประชาชนที่มีต่อเจ้าหน้าที่อันเนื่องมาจากโครงการสารภีนี้.
วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาถึงการสนองตอบของประชาชนต่อโครงการนี้ ได้ชี้ให้เห็นปัญหาและข้อเท็จจริงบางส่วนในการดำเนินการพัฒนาตำบลสารภี เช่น ความกว้างใหญ่ของอำเภอสารภี ทำให้การคมนาคมไม่สะดวกกับทั้งมีประชาชนอพยพเข้ามาอยู่มาก ทำให้ไม่สามารถแนะนำได้ทั่วถึง.
ผู้เขียนได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ดังนี้คือ เขตพัฒนาทดลองควรจะเลือกหมู่บ้านใดหมู่บ้านหนึ่ง หรือ 2-3 หมู่บ้านที่ใกล้ ๆ กัน การจะเลือกหมู่บ้านทดลองควรคำนึงถึงปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ควรจัดแนะนำโดยใกล้ชิดต่อผู้ที่เพิ่งจะอพยพเข้ามาอยู่ที่นั้น เพื่อให้เข้าร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน และควรจะทำการศึกษาและวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับทัศนคติของประชาชนที่มีต่อเจ้าหน้าที่อันเนื่องมาจากโครงการสารภีนี้.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2514.