• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบลงทะเบียน

ความพอใจในการทำงานของอาจารย์ในวิทยาลัยพลศึกษาและวิทยาลัยครูในสามจังหวัดภาคเหนือ

by นิติยา หลานไทย

ชื่อเรื่อง:

ความพอใจในการทำงานของอาจารย์ในวิทยาลัยพลศึกษาและวิทยาลัยครูในสามจังหวัดภาคเหนือ

ผู้แต่ง:

นิติยา หลานไทย

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษา

ชื่อปริญญา:

พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

ปริญญาโท

สาขาวิชา:

รัฐประศาสนศาสตร์

คณะ/หน่วยงาน:

คณะรัฐประศาสนศาสตร์

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2531

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาอิทธิพลของบรรยากาศองค์การ ทั้งรวมมิติและแยกมิติที่มีต่อความพอใจในการทำงานอาจารย์วิทยาลัยพลศึกษาและอาจารย์วิทยาลัยครู รวมทั้งเปรียบเทียบระดับของความพอใจในการทำงานด้วย โดยใช้รูปแบบวิจัยเชิงสำรวจประเภทตัดขวาง ประชากรสำหรับการวิจัย คือ อาจารย์ประจำที่มีตำแหน่งอัตราเงินเดือนในวิทยาลัยพลศึกษาและวิทยาลัยครูสามจังหวัดภาคเหนือ คือ เชียงใหม่ ลำปาง และเพชรบูรณ์ โดยไม่นับรวมอาจารย์ที่มาช่วยราชการหรือไปช่วยราชการที่วิทยาลัยอื่น รวมจำนวนทั้งสิ้น 553 คน ผู้วิจัยทำการสุ่มตัวอย่างแบบใช้ความน่าจะเป็น ด้วยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ได้กลุ่มตัวอย่างขนาด 300 ตัวการ ซึ่งมีสัดส่วนที่สอดคล้องกับขนาดของประชากรในแต่ละวิทยาลัย ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ซึ่งผู้วิจัยได้ทดสอบความเชื่อถือได้และความแม่นตรงของมาตรวัดความพอใจในการทำงานและมาตรวัดบรรยากาศองค์การแล้ว การวิเคราะห์ข้อมูลได้ทดสอบฐานคติพาราเมตริกก่อนจะประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่ายและเชิงพหุ รวมทั้งการทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร ผลการทดสอบสมมติฐานสรุปได้ว่า บรรยากาศองค์การโดยรวมมีความสัมพันธ์กับความพอใจในการทำงาน โดยที่ประชากรมีระดับความพอใจในการทำงานแตกต่างกัน ซึ่งผู้วิจัยได้แสดงรายละเอียดไว้ในบทที่ 5 การสรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะปรากฏอยู่ในบทที่ 6 ของรายงานนี้

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2531.

หัวเรื่องมาตรฐาน:

ความพอใจในการทำงาน -- ไทย
องค์การ
วิทยาลัยครู

คำสำคัญ:

อาจารย์

ประเภททรัพยากร:

Thesis

ความยาว:

[ก]-ฑ, [199] แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

สิทธิในการเข้าถึง:

สงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเอกสารฉบับเต็มเฉพาะ นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์เท่านั้น

ผู้ครอบครองสิทธิ์:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1113
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
nida-ths-b9053.pdf ( 4,308.48 KB )

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (EXCERPT)

Thumbnail
ดู
nida-ths-b9053ab.pdf ( 94.73 KB )

This item appears in the following Collection(s)

  • GSPA: Theses [261]
Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

‹›×