บทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในการต่อต้านผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดเลย
Publisher
Issued Date
1973
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
206 หน้า.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สมศักดิ์ สาตรรอด (1973). บทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในการต่อต้านผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดเลย. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1142.
Title
บทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในการต่อต้านผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดเลย
Alternative Title(s)
The roles of Kamnan and Puyaiban in Counter Insurgency : a study of Changwat Loei
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
ผู้เขียนได้ค้นคว้าถึงทฤษฎีและการปฏิบัติต่าง ๆ ของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ศึกษาถึงอำนาจหน้าที่และบทบาทกำนันผู้ใหญ่บ้าน สถานภาพของจังหวัดเลยซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้เกิดการก่อการร้าย หรือเหมาะสมต่อการแทรกซึมและก่อการร้าย ผู้เขียนได้เสนอเรื่องในวิทยานิพนธ์ตามลำดับเริ่มแต่นโยบายการรุกรานของคอมมิวนิสต์ ซึ่งมีต่อประเทศไทย ตลอดจนวิธีการแทรกซึมและก่อการร้ายในชนบท แล้วกล่าวถึงลักษณะและสภาพทั่ว ๆ ไปของจังหวัดเลย เน้นจุดอ่อนต่อการแทรกซึมและพฤติการณ์แทรกซึม ต่อจากนั้นจึงศึกษาอำนาจหน้าที่ซึ่งมีอยู่ตามตัวบทกฎหมาย และการปฏิบัติงานของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านของไทยอันเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันและปราบปรามคอมมิวนิสต์ พิจารณาถึงบทบาทของกำนันผู้ใหญ่บ้านในการต่อต้านผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในปัจจุบัน และศึกษาถึงการปฏิบัติของกำนันผู้ใหญ่บ้านในเวียตนามใต้ เพื่อเปรียบเทียบด้วย เพื่อก่อให้เกิดคุณค่าในการป้องกันกับปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ผู้เขียนได้พิจารณาถึงการพัฒนากำนันผู้ใหญ่บ้านจังหวัดเลย วิเคราะห์เกี่ยวกับผลการวิจัย ทัศนคติ ความสนใจและคุณค่าของกำนันผู้ใหญ่บ้านในเขตจังหวัดเลยว่า มีคุณค่าในการต่อต้านการก่อการร้ายคอมมิวนิสต์เพียงใด ตลอดจนวิจัยถึงความต้องการและความเดือดร้อนของประชาชน ในความเห็นของกำนันผู้ใหญ่บ้าน ในตอนสุดท้ายเป็นการสรุปและเสนอแนะเกี่ยวกับข้อคิดเห็นที่จะปรับปรุงสภาพทางสังคม เพื่อที่จะให้ประชาชนเกิดความสุขความสำราญ ลดความเดือนร้อน ไม่เป็นเครื่องมือของฝ่ายตรงข้าม หันมานิยมระบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยยิ่ง ๆ ขึ้น
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2516.