ปัญหาการบริหารงานส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อมในประเทศไทย
by ศิริ ผาสุก
ชื่อเรื่อง: | ปัญหาการบริหารงานส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อมในประเทศไทย |
ผู้แต่ง: | ศิริ ผาสุก |
ผู้ควบคุมงานวิจัย: | ไพเราะ ไพรอนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษา |
ชื่อปริญญา: | พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต |
ระดับปริญญา: | ปริญญาโท |
สาขาวิชา: | รัฐประศาสนศาสตร์ |
คณะ/หน่วยงาน: | คณะรัฐประศาสนศาสตร์ |
หน่วยงานที่ประสาทปริญญา: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
วันที่เผยแพร่: | 2511 |
หน่วยงานที่เผยแพร่: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ: |
เป็นการศึกษาการบริหารงานอุตสาหกรรมขนาดย่อมของรัฐ เฉพาะนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมอุตสาหกรรม ทั้งในรูปที่เป็นตัวบทกฎหมายและแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ศึกษาการบริหารงานตามแผนทั้งในรูปคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และศึกษาการบริหารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมซึ่งมีหน้าที่โดยตรงต่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อมเท่านั้น ส่วนปัญหาการบริหารอื่น ๆ ผู้เขียนมิได้นำมากล่าวถึง. |
รายละเอียดเพิ่มเติม: |
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2511. |
หัวเรื่องมาตรฐาน: | ธุรกิจขนาดย่อม -- ไทย
การส่งเสริมอุตสาหกรรม -- ไทย -- การบริหาร อุตสาหกรรม -- ไทย |
คำสำคัญ: | อุตสาหกรรม
การบริหาร กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม -- การจัดส่วนราชการ บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย |
ประเภททรัพยากร: | วิทยานิพนธ์ |
ความยาว: | 168 หน้า. |
ชนิดของสื่อ: | Text |
รูปแบบแฟ้มข้อมูล: | application/pdf |
ภาษา: | tha |
สิทธิในการใช้งาน: | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0) |
URI: | http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1159 |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (EXCERPT) |
|
ดู ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น
|
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT) |
|
ดู ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น
|
This item appears in the following Collection(s) |
|
|
Related items
Showing items related by title, author, creator and subject.
-
การปรับตัวของสตรีชนบทที่เข้าทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม : ศึกษาเฉพาะกรณีแรงงานสตรีในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์เขตสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภารดี นามวงศ์; สุรสิทธิ์ วชิรขจร, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1996)
งานวิจัยนี้ มุ่งศึกษา 1) ระดับการปรับตัวของสตรีชนบท ที่เข้ามาทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม โดยจำแนกการปรับตัวออกเป็น ด้านสรีระวิทยา/ร่างกาย ด้านอัตมโนทัศน์/ความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ด้านบทบาทหน้าที่ และด้านความสัมพันธ์พึ่งพาระหว่างกัน 2) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยภายใน ของสตรีชนบทที่เข้ามาทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม ประกอบด้วย อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ฐานะทางเศรษฐกิจ ภาระทางครอบครัว ประสบการณ์การทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม และความทันสมัยที่มีผลต่อระดับการปรับตัวของสตรีชนบท 3) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยภายนอกของสตรีชนบทที่เข้ามาทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม ประกอบด้วย ... -
การปรับตัวของแรงงานในอุตสาหกรรมสิ่งทอจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี : ศึกษาเฉพาะกรณีอุตสาหกรรมปั่นด้าย-ทอผ้า และอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูปในเขตอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
พนิดา สุจริตกุลธร; วิชัย รูปขำดี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1995) -
บทบาทของรัฐบาลในการส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อม : ศึกษาเฉพาะกรณีการบริหารงานตามโครงการเงินกู้เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อม
เสถียร ลำสมุทร; สุระ สนิทธานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1968)
ส่วนใหญ่ของวิทยานิพนธ์ เป็นการศึกษางานในหน้าที่ของสำนักงานเงินกู้เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ธนาคารกรุงไทยจำกัด และกระทรวงการคลัง เนื่องจากการบริหารงานตามโครงการเงินกู้นี้ หน่วยราชการและหน่วยงานดังกล่าวมีหน้าที่ร่วมกัน และประสานงานปฏิบัติหน้าที่โดยมีคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อม แต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรี มีหน้าที่ตัดสินชี้ขาดการให้เงินกู้ ออกระเบียบกฎเกณฑ์ และมีอำนาจกำหนดประเภทอุตสาหกรรม อยู่นอกหรือในวงที่ต้องการช่วยเหลือ