• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ปัญหาและอุปสรรคในการนำพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2497 มาใช้ในประเทศไทย

by ฮึกหาญ โตมรศักดิ์

Title:

ปัญหาและอุปสรรคในการนำพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2497 มาใช้ในประเทศไทย

Author(s):

ฮึกหาญ โตมรศักดิ์

Advisor:

ชุบ กาญจนประกร, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

รัฐประศาสนศาสตร์

Degree department:

คณะรัฐประศาสนศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

1966

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การประกันสังคมสงเคราะห์ในประเทศไทยเริ่มขึ้นในปี 2495 เป็นการริเริ่มทางการเมืองของรัฐบาล มิได้เกิดจากความเรียกร้องของประชาชน คณะกรรมการซึ่งได้รับมอบหมายให้ดำเนินงานประกันสังคมไม่สามารถอุทิศตนให้งานประกันสังคมให้เต็มที่ ข้าราชการในระดับต่ำก็โอนมาจากส่วนราชการอื่นไม่มีความรู้ทางประกันสังคม ทำให้การประกันสังคมประสบความล้มเหลว นอกจากนี้จากการศึกษาปรากฏว่า โครงร่างประกันสังคมตามพระราชบัญญัติประกันสังคม 2497 มีพื้นฐานง่อนแง่น พร้อมทั้งรัฐบาลยังไม่พร้อมที่จะดำเนินการตลอดจนสถานการณ์ทั้งในด้านการเมือง การบริหารเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยในขณะนั้นไม่อำนวยให้ อย่างไรก็ดีผู้เขียนมีความเห็นว่า เนื่องจากขณะนี้ประเทศไทยกำลังเร่งพัฒนาในทุกทาง การเตรียมพร้อมที่จะรับกับปัญหาในอนาคตเป็นเรื่องสำคัญ ควรจะได้นำเอาระบบการประกันสังคมมาใช้ในประเทศไทยอีก โดยผู้เขียนเสนอให้กำหนดแผนการดำเนินงาน ทั้งในด้านตัวบุคคล ด้านความช่วยเหลือทางเทคนิค ด้านการเผยแพร่ และด้านการเงินและวัสดุ ผู้เขียนเสนอให้ใช้พระราชบัญญัติประกันสังคมมาบังคับใช้ในจังหวัดพระนครและธนบุรีเพื่อทดลองก่อน สำหรับการเตรียมการในด้านการแพทย์นั้นผู้เขียนเสนอให้นำเอาวิธีการให้การรักษาแก่ผู้ประกันด้วยแพทย์เอกชน ซึ่งขึ้นทะเบียนกับทางการประกันสังคม โดยแพทย์คนหนึ่งจะมีผู้ประกันขึ้นทะเบียนอยู่ในความดูแลไม่เกิน 1,000 คน คณะกรรมการประกันสังคมก็ควรประกอบด้วยผู้แทนจากฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คือ รัฐบาล ฝ่ายลูกจ้าง และฝ่ายนายจ้างในจำนวนเท่า ๆ กัน และให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและรับผิดชอบต่อวัตถุประสงค์ส่วนรวมขององค์การ ส่วนการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อทำหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารงานตามโครงการประกันสังคมนั้น ควรเป็นองค์การอิสระและมีความสัมพันธ์กับทางราชการเช่นเดียวกับรัฐวิสาหกิจ

Description:

วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2509.

Subject(s):

ประกันสังคม -- ไทย
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2497
ประกันสังคม -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

124 หน้า.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1165
Show full item record

Files in this item (EXCERPT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b8332ab.pdf ( 200.39 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b8332.pdf ( 2,325.95 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSPA: Theses [291]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×