Browsing คณะและวิทยาลัย by Title
Now showing items 2150-2169 of 2672
-
ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจหลังการฟื้นฟูทางการเงิน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ปัจจัยความสำเร็จในการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในเขตปฏิรูปที่ดิน : ศึกษากรณี ตำบลนิคมกระเสียว อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของครูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011); -
ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการติดเกมออนไลน์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011); -
ปัจจัยเชิงเหตุแบบบูรณาการทางด้านจิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการทำงานของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
วัตถุประสงค์หลักของการศึกษาความสัมพันธ์เปรียบเทียบ (Correlational-Comparative Study)ครั้งนี้คือ 1) เพื่อบ่งชี้ตัวทำนายสำคัญและปริมาณการทำนายของสถานการณ์และจิตลักษณะที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมการทำงานของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินประเภทต่างๆ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลทางตรงและหรืออิทธิพลทางอ้อมของสถานการณ์และจิตลักษณะที่มีต่อพฤติกรรมการทำงานของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน และ 3) เพื่อระบุกลุ่มเสี่ยงและปัจจัยปกป้อง -
ปัจจัยด้านการยอมรับและปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์กับพฤติกรรมการซื้อ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
- -
ปัจจัยด้านวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีศึกษา สถาบันอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009); -
ปัจจัยทางครอบครัวและโรงเรียนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะทางพุทธศาสนาของนักเรียนในชุมชนที่มีระดับการพัฒนาต่างกัน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1994);
การวิจัยครั้งนี้ ได้ศึกษาว่าอิทธิพลของครอบครัว โรงเรียน และชุมชนที่แตกต่างกันจะมีผลต่อจิตใจและพฤติกรรมของนักเรียนหรือไม่ โดยมีจุดมุ่งหมายในการวิจัยนี้ 3 ประการคือ ประการแรกเพื่อศึกษาอิทธิพลทางพุทธศาสนาของครอบครัวและโรงเรียนที่มีจิตใจและพฤติกรรมของเด็กประถมศึกษา ประการที่สองเพื่อศึกษาอิทธิพลของชุมชนที่มีระดับการพัฒนาต่างกันที่มีต่อจิตใจและพฤติกรรมของเด็ก ประการที่สามเพื่อศึกษาอิทธิพลร่วมระหว่างครอบครัว โรงเรียนและชุมชนต่อจิตใจและพฤติกรรมของเด็ก -
ปัจจัยทางจิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมุ่งมั่นในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เป็นรุ่นแรกของครอบครัว
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจิตลักษณะเดิม สถานการณ์ และจิตลักษณะตามสถานการณ์กับพฤติกรรมมุ่งมั่นในการเรียน ตลอดจนแสวงหาตัวทำนายและปริมาณการทำนายพฤติกรรมมุ่งมั่นในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เป็นรุ่นแรกของครอบครัว กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ คัดเลือกเฉพาะนักศึกษาปริญญาตรีที่เป็นรุ่นแรกของครอบครัว ชั้นปีที่ 1 และ ปีที่ 2 จำนวน 543 คน จากมหาวิทยาลัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ประกอบไปด้วยเพศชาย 123 คน (22.7%) และเพศหญิง 420 คน (77.3%) อายุเฉลี่ย 19 ปี 8 เดือน สุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ... -
ปัจจัยทางจิตและทางสังคมที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างนักเรียนที่อาศัยอยู่ในครอบครัวปกติกับนักเรียนที่อาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1997); -
ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวกับความฉลาดทางการเมืองของนิสิตนักศึกษาปริญญาตรี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับความฉลาดคบเพื่อนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2002); -
ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการพึ่งตนเองในผู้สูงวัย / วรนุช สิปิยารักษ์ = Psycho-social correlates of self-independent behavior of older adults
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009); -
ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการมีมารยาททางสังคมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008); -
ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการลดปริมาณขยะของนักเรียนในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการรุ่งอรุณ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2000); -
ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมป้องกันการรับและแพร่โรคในชีวิตประจำวันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017);
การวิจัยเรื่องนี้ เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เปรียบเทียบ ซึ่งมีกรอบแนวคิดพื้นฐานมาจากรูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธ์นิยม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวทำนายที่สำคัญของปัจจัยด้านจิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมป้องกันการรับและแพร่โรคในชีวิตประจำวัน กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 จำนวน 485 คน จากมหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประกอบด้วยเพศชาย 166 คน (34.2%) และเพศหญิง 319 คน (65.8%) อายุเฉลี่ย 21 ปี 4 เดือน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นกำหนดโควต้า โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลในกลุ่มรวม และใน 18 กลุ่มย่อย ซึ่งแบ่งตามลัก ... -
ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011); -
ปัจจัยทางจิตสังคมที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ควบคู่คุณธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011);