การควบคุมเตาไพโรไลซิสเพื่อกำจัดยางรถยนต์เก่าของสหกรณ์การเกษตรวานรนิวาส จำกัด จังหวัดสกลนคร
by สุวิเชียร ผ่องนัยเลิศ
Title: | การควบคุมเตาไพโรไลซิสเพื่อกำจัดยางรถยนต์เก่าของสหกรณ์การเกษตรวานรนิวาส จำกัด จังหวัดสกลนคร |
Other title(s): | Pyrolysis reactor control for waste tire disposal of Wanorniwas Agricultural Cooperatives Limited, Sakonnakorn Province |
Author(s): | สุวิเชียร ผ่องนัยเลิศ |
Advisor: | ธวัชชัย ศุภดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษา |
Degree name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree level: | ปริญญาโท |
Degree discipline: | การจัดการสิ่งแวดล้อม |
Degree department: | คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม |
Degree grantor: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
Issued date: | 2012 |
Digital Object Identifier (DOI): | 10.14457/NIDA.the.2012.5 |
Publisher: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
Abstract: |
การศึกษานี้เป็นการศึกษาขั้นตอนวิธีการควบคุมเตาไพโรไลซิสภายในโรงไฟฟ้าพลังงาน ทางเลือกของสหกรณ์การเกษตรวานรนิวาส จํากัด จังหวัดสกลนคร ซึ่งใช้วิธีการผลิตเชื้อเพลิง สําหรับใช้ผลิตไฟฟ้ าจากกระบวนการไพโรไลซิสยางรถยนต์เก่า โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึง วิธีการจัดการเตาไพโรไลซิส เพื่อกาจัดยางรถยนต์เก่าของสหกรณ์การเกษตรวานรนิวาส จํากัด จังหวัดสกลนคร ว่าได้ทําอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไหร่ เพื่ออะไร ในการบริหารจัดการ และ สามารถใช้เป็ นรูปแบบในการจัดการเตาไพโรไลซิสในรูปแบบอื่นได้ ในการศึกษาจะใช้ววิธีการวิจัยเชิงพัฒนาทดลอง ทําการศึกษาโดยการเก็บข้อมูลจาก สถานการณ์ที่ปฏิบัติงานจริงภายในหน่วยผลิตเชื้อเพลิง เป็นการศึกษาเพื่อนําความรู้ที่มีอยู่แล้วจาก ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน เพื่อสร้างกระบวนการระบบใหม่ ๆ ขึ้น และปรับปรุงสิ่งประดิษฐ์ หรือสิ่งที่ก่อตั้งขึ้นแล้วให้ดีขึ้น และศึกษาในส่วนของโครงสร้างทางเคมีของยางธรรมชาติ ยาง สังเคราะห์ โพลิเมอร์ เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกหาวัตถุดิบอื่นที่สามารถนํามาใช้ทดแทนยาง รถยนต์หรือพลาสติก และได้ศึกษาสถานการณ์ของยางรถยนต์เก่า ซึ่งเป็นปัญหาอยู่ในปัจจุบัน เพราะเนื่องจากมีปริมาณยางเก่าที่ทิ้งต่อปี มีไม่น้อยกว่า 500,000 ตัน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ด้านทัศนียภาพ เป็นที่ซ่อนของสัตว์มีพิษ แมลง และแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แต่วิธีการกำจัดยางรถยนต์ เก่าแบบไพโรไลซิส นอกจากสามารถลดปริมาณยางเก่าเหล่านี้ โดยนํามาผลิตเป็นนํ้ามันเชื้อเพลิง และสามารถให้ผลผลิตเป็นนํ้ามันเตาได้ไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 40.0 ของวัตถุดิบโดยนํ้าหนัก ซึ่งถ้านํามาผลิตเป็นนํ้ามัน จะได้นํ้ามันเตาไม่น้อยกว่าปี ละ 200,000 ตัน สามารถนําไปกลันเป็นน้ำมันดีเซลหรือ เบนซินใช้กับเครื่องยนต์ได้ |
Description: |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012 |
Subject(s): | เตาเผา
การแยกสลายด้วยความร้อน |
Resource type: | วิทยานิพนธ์ |
Extent: | 80 แผ่น ; 30 ซม. |
Type: | Text |
File type: | application/pdf |
Language: | tha |
Rights: | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0) |
URI: | http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1990 |
Files in this item (CONTENT) |
|
View ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น
|
This item appears in the following Collection(s) |
|
|