Now showing items 41-60 of 227

  • Thumbnail

    การสร้างโครงข่าย Bayesian โดยใช้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์และการประยุกต์ใช้ในการประมาณค่าสูญหาย 

    สุนาถชีว์ พูนวุฒิกุล; โอม ศรนิล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2006)
  • Thumbnail

    การวิเคราะห์กระจายคำในประโยคภาษาไทยโดยการโปรแกรมเชิงเจนเนติก 

    สมนึก สินธุปวน; สุรพงค์ เอื้อวัฒนามงคล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2003)
  • Thumbnail

    การออกแบบดรรชนีผกผันที่สามารถรองรับการเพิ่มขึ้นของเอกสาร 

    ศิริภิญโญ จันทมุณี; โอม ศรนิล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2003)
  • Thumbnail

    การหาเส้นทางส่งข้อมูลในเครือข่ายไร้สายโดยวิธี Predicted Multipath Label Switching Protocol 

    วิบูลย์ คูบูรณ์; โอม ศรนิล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008)

    งานวิจัยนี้เป็นการนําเสนอโปรโตคอลการหาเส้นทางส่งข้อมูลในเครือข่ายไร้สาย ซึ่งใช้ วิธีการของ Predicted Multipath Routing Protocol (PMP) ในการหาเส้นทางเนื่องจากเส้นทางที่ได้ จากโปรโตคอลนี้มีความคงทนและประสิทธิภาพการส่งข้อมูลสูง และใช้หลักการของ Label Switching ในการนําส่งข้อมูลซึ่งจะทําให้การส่งข้อมูลทําได้รวดเร็วเนื่องจากช่วยทําให้ Header ของ Packet ข้อมูลมีขนาดสั้นลงอีกทั้งยังสนับสนุนการจัดการคุณภาพบริการการส่งข้อมูลได้อีกด้วย จากการทดสอบประสิทธิภาพการทํางานของโปรโตคอลที่นําเสนอกับ PMP โดย เปรียบเทียบค่าสัดส่วนของปริมาณข้อมูลที่ปลายทางรับได้สําเ ...
  • Thumbnail

    ระบบตรวจจับการบุกรุกที่ใช้ซิงกูลลาร์แวลูดีคอมโพซิชั่นร่วมกับโครงข่ายประสาทเทียม 

    เจษฎา ขจรฤทธิ์; โอม ศรนิล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2004)
  • Thumbnail

    โปรแกรมมัลติมีเดียช่วยในการเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต 

    พงษ์ศักดิ์ รักพ่วง; พิพัฒน์ หิรัณย์วณิชชากร, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2005)
  • Thumbnail

    เครื่องมือสำหรับช่วยในการเรียนการสอนภาษาจาวาที่สามารถแสดงข้อผิดพลาดเชิงไวยากรณ์ได้อย่างแม่นยำ 

    กฤติกรณ์ ศรีโสภา; สุรพงค์ เอื้อวัฒนามงคล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2007)
  • Thumbnail

    การสร้างสัญญาณซื้อขายโดยการรวมรูปแบบแผนภูมิและตัวชี้วัดทางเทคนิค 

    ชโลธร ชูทอง; โอม ศรนิล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    รูปแบบแผนภูมิและตัวชี้วัดทางเทคนิค เป็ นเครื่องมือที่ใช้กนอย่างแพร่หลาย ช่วยในการ ตัดสินใจด้านการลงทุน งานวิจัยนี้นำเสนอวิธีการเพื่อช่วยหาจุดที่เหมาะสมในการตัดสินใจซื้อขาย หุ้น โดยการรวมรูปแบบแผนภูมิ ซึ่งได้แก่ แผนภูมิราคาตลาด (Price Market Chart) แผนภูมิแท่ง เทียน(Candlestick Chart) และตัวชี้วัดทางเทคนิค ประกอบด้วย Moving Average (MA), Exponential Moving Average (EMA), Bollinger Bands (BB), On Balance Volume (OBV), Relative Strength Index (RSI), Moving Average Convergence Divergence (MACD), และ Stochastic Oscillator (OS) ด้วยข่ายงานประสาทเทียม ...
  • Thumbnail

    ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับส่วนลดเบี้ยประกันภัยรถยนต์ประวัติดี 

    กฤติยา ดวงมณี; ปรีชา วิจิตรธรรมรส, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2004)
  • Thumbnail

    การเปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิตผ่านตัวแทนและผ่านธนาคารพาณิชย์ 

    เกรียงไกร ธนากรไพศาล; ปรีชา วิจิตรธรรมรส, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    งานวิจัยครั้งนี้ได้ทำการเปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อ การซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิตผ่านตัวแทนและผ่านธนาคารพาณิชย์และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความ พึงพอใจที่มตี่อการซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิตในแต่ละช่องทางโดยขอบเขตประชากรคือลูกค้าที่ซื้อ ประกันชีวิตแล้วที่เป็นคนวัยทํางานในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่20 ปีขึ้นไปโดยใช้วิธีการ สุ่มตัวอย่างหลายขั้น (Multistage Random Sampling) แล้วใช้แบบสอบถาม เก็บข้อมูลตัวอย่าง จํานวนทั้งหมด 400คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช t–test, F–test และการเปรียบเทียบเชิงพหุ จากตัวอย่างลูกค้าที่ซื้อกรมธรรม ...
  • Thumbnail

    การจัดกลุ่มพฤติกรรมการใช้บัตรเดบิตและบัตรกดเงินสดของคนทำงานในกรุงเทพมหานคร 

    ภาวิณี เหล่าพิพัฒน์ไพบูลย์; พาชิตชนัต ศิริพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    การวิจัยเชิงสํารวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บัตรเดบิตและบัตรกดเงินสด ของคนทํางานในกรุงเทพมหานครและเพื่อจัดกลุ่มพฤติกรรมการใช้บัตรเดบิตและบัตรกดเงินสด ตัวอย่างในการศึกษาคือคนทํางานในกรุงเทพมหานครที่ใช้บัตรเดบิตและบัตรกดเงินสด จํานวน 385คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นหลายขั้นตอน (Multi-Stage Stratified sampling) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล นอกจากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิง พรรณนา (Descriptive Statistics) แล้วการศึกษานี้จะใช้เทคนิคการวิเคราะห์จัดกลุ่มแบบสองขั้น (Two-Step Cluster Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ...
  • Thumbnail

    ความตั้งใจใช้แท็บเล็ตของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 3 การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี 

    ณัฐพร ทองศรี; เดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความตั้งใจใช้แท็บเล็ตประกอบการสอน ในของครูผู้สอนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 3 2) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้แท็บเล็ตของครู ผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 3 โดยการประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance Model) ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ทำการเก็บ รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากครูผู้สอนระดับประถมศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 3 โดยมีขนาดตัวอย่าง จำนวน ...
  • Thumbnail

    ระบบไร้สายโดยใช้ zigbee เพื่อควบคุมและติดตามสถานะเครื่องจักรและเซ็นเซอร์ในโรงงานผ่านเครือข่ายอินเอทร์เน็ต 

    พูนศักดิ์ พรเพิ่มพูน; พิพัฒน์ หิรัณย์วณิชชากร, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)

    ระบบการผลิตอัตโนมัติในโรงงาน สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตในโรงงานให้เพิ่ม มากขึ้น อย่างไรก็ตาม การควบคุมการทำงานของเครื่องจักรอัตโนมัติ ยังจำกัดอยู่ที่ระยะทางของ สายเคเบิลที่เชื่อมต่อเครื่องควบคุมเข้ากับเครื่องจักรอัตโนมัติ งานวิจัยชิ้นนี้จึงมุ่งนำเสนอแนวคิด การพัฒนาระบบแบบระบบฝังตัว (Embedded System) เพื่อควบคุมเครื่องจักรอัตโนมัติจาก ระยะไกลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และตรวจสอบสถานะภายในโรงงานจากเซ็นเซอร์ที่ติดตั้ง ภายในโรงงาน โดยมุ่งนำเสนอแนวคิดของระบบที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการคำนึงถึงความปลอดภัยของข้อมูลที่ส่งผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ...
  • Thumbnail

    การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรที่มีการแจกแจงล็อกนอร์มอล 

    สุชาดา เพ็ชรขาวเขียว; ประชุม สุวัตถี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    งานวิจัยนี้ศึกษาการทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรเดียว สองประชากรและประชากรที่ มากกว่าสองประชากรที่มีการแจกแจงล็อกนอร์มอล โดยการแปลงข้อมูลและไม่แปลงข้อมูล ใช้การจำลองประชากรที่มีการแจกแจงล็อกนอร์มอลขนาด 10,000 หน่วยโดยโปรแกรม R แล้วสุ่มตัวอย่างจากแต่ละประชากรโดยให้ตัวอย่าง มีขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ จำนวน 1,000 รอบ แล้ว ทดสอบค่าเฉลี่ยที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยคำนวณค่าสถิติทดสอบจากตัวอย่างที่สุ่มได้และจากการ แปลงข้อมูลในตัวอย่างเพื่อให้มีการแจกแจงปรกติตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธสมมุติฐานว่าง เกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรที่กำหนดขึ้น เพื่อคำนวณความน่าจ ...
  • Thumbnail

    การตรวจสอบค่านอกเกณฑ์ในตัวอย่างสุ่มจากประชากรปกติ 

    วรพรรณ เจริญขำ; พาชิตชนัต ศิริพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    งานวิจัยนี้นำเสนอตัวสถิติทดสอบสำหรับตรวจสอบค่านอกเกณฑ์ TP1และTP2 ซึ่ง พัฒนาขึ้นมาจากสถิติทดสอบของ Ferguson(TN14และTN15) ที่ใช้สัมประสิทธิความเบ้และ สัมประสิทธิความโดงเป็นพื้นฐาน โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นว่า ตัวอย่างสุ่มมาจากประชากรที่มีการ แจกแจงปกติ ทำการเปรียบเทียบความสามารถในการควบคุมความน่าจะเป็นของความคลาดเคลื่อน ประเภทที่ 1 และกำลังของการทดสอบระหว่างตัวสถิติทดสอบที่นำเสนอกตัวสถิติทดสอบของ Fergusonแบ่งการศึกษาเป็น2กรณีคือ กรณีการทดสอบค่านอกเกณฑ์ด้านขวาใช้ตัวสถิติทดสอบ TP1และTN14 และกรณีการทดสอบค่านอกเกณฑ์สองด้านใช้ตัวสถิติทดสอบ TP2และTN15 โดย ...
  • Thumbnail

    การประมาณค่าที่เก็บไม่ได้ในการสำรวจด้วยตัวอย่าง 

    ภาคย์ สิทธิผกาผล; ประชุม สุวัตถี, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    งานวิจัยนี้เสนอการเปรียบเทียบวิธีประมาณค่าที่เก็บไม่ได้ 3 วิธีในการสำรวจด้วยตัวอย่าง โดยการจำลองประชากร ขนาด 5,000 หน่วย มีตัวแปรที่ศึกษา Y และตัวแปรช่วย X 6 ตัว มี สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง X กับ Y อยู่3 ระดับคือระดับต่ำ ระดับปานกลางและระดับสูง โดย ใช้โปรแกรมอาร์ สุ่มตัวอย่างซ้ำ 1,000 ครั้งจากแต่ละประชากรให้มีขนาดเล็กขนาดกลางและขนาด ใหญ่สุ่มค่าสังเกต Y ในตัวอย่างทิ้ง 5, 10, 15 และ20 เปอร์เซ็นต์ถือว่าเป็นค่าที่เก็บรวบรวมไม่ได้ ประมาณค่า Y กลับคืนโดยวิธีการถดถอยพหุเชิงเส้น วิธีระยะห่างต่ำสุด และวิธีค่าเฉลี่ย นำค่า Y ที่มี อยู่และที่ประมาณ ...
  • Thumbnail

    การประมาณค่าสูญหายในการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ 

    รัตติกาล จอมประพันธ์; พาชิตชนัต ศิริพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    งานวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิธีการประมาณค่าสูญหายของตัวแปรตามในการวิเคราะห์การ ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ โดยนำเสนอวิธีประมาณค่าสูญหายของตัวแปรตาม4 วิธี คือ วิธีอัตราส่วน ควอไทล์ที่วิธีอัตราส่วนควอไทล์ที่วิธีสมการถดถอยอัตราส่วนควอไทล์ที่1 และวิธีสมการ ถดถอยอัตราส่วนควอไทล์ที่ซึ่งพัฒนาขึ้นมาจากตัวประมาณอัตราส่วน การเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพของวิธีที่นำเสนอ 4 วิธีดังกล่าวกับวิธีประมาณค่าสูญหายด้วยค่าเฉลี่ยและด้วยค่า ทำนายที่ได้จากการวิเคราะห์การถดถอย ใช้ค่าประมาณของรากที่สองของค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อน กำลังสองและค่าเฉลี่ยของเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสัมบ ...
  • Thumbnail

    การเปรียบเทียบการคัดเลือกตัวแปรอิสระที่มีปัญหาสหสัมพันธ์เชิงเส้นพหุด้วยวิธีการทดถอยแบบริดจ์และการค้นหาแบบต้องห้าม 

    นิศาชล งามประเสริฐสิทธิ์; จิราวัลย์ จิตรถเวช, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการคัดเลือกตัวแปรอิสระในการวิเคราะห์การถดถอยเชิง เส้นพหุที่ตัวแบบมีตัวแปรอิสระที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกบตัวแปรตาม โดยตัวแปรอิสระที่เกี่ยวข้องมี ความสัมพันธ์กันสูง 0.95, 0.99, 0.999 และ 0.9999 การคัดเลือกตัวแปรอิสระใช้วิธีการถดถอยแบบ ขั้นตอนที่ประมาณค่าสัมประสิทธิการถดถอยด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดและวิธีการถดถอยแบบริดจ์โดย ใช้วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ริดจ์4 วิธีคือ วิธีโฮเอิร์ล, เคนนาร์ด และ บาลด์วิน (Hoerl, Kennard and Baldwin) วิธี ลอว์เลสและแวง (Lawless and Wang) วิธีนอมูระ (Nomura)และวิธีคาลาฟและช ...
  • Thumbnail

    การแปลงข้อมูลเพื่อแก้ปัญหาความแปรปรวนไม่เท่ากันสำหรับแผนแบบการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ 

    ญาดาภา โชติดิลก; พาชิตชนัต ศิริพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    งานวิจัยนี้ศึกษาเปรียบเทียบความสามารถของวิธีการแก้ปัญหาความแปรปรวนไม่เท่ากัน ด้วยวิธีการแปลงข้อมูลแบบบ็อกซ์ – ค็อกซ์และวิธีการถ่วงน้ำหนัก โดยจำลองข้อมูลในแผนแบบ การทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์กำหนดปัจจัยการทดลองคงตัวและจ นวนซ้ำในแต่ละวิธีทดลองเท่ากัน โดยกำหนดจำนวนทรีตเมนต์ (k) และจำนวนซ้ำของหน่วยทดลองในแต่ละทรีตเมนต์ (n) เป็นดังนี้ (k, n) = (3, 5), (3, 10), (5, 10), (5, 12), (5, 20) กำหนดค่าความแปรปรวนแตกต่างกัน 3 ระดับ คือ ความแปรปรวนแตกต่างกันน้อย (ไม่เกิน 2 เท่าของค่าความแปรปรวนน้อยที่สุด) แตกต่างกันปาน กลาง (ไม่เกิน 5 เท่าของค่าความแปรปรวนน้อยที่สุด ...
  • Thumbnail

    เกณฑ์และสถิติทดสอบในการเลือกตัวแปรในตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุกรณีที่ไม่สามารถสร้างตัวแบบเต็มรูป 

    นันทพร บุญสุข; จิราวัลย์ จิตรถเวช, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012)

    งานวิจัยนี้ได้ศึกษาเกณฑ์การคัดเลือกตัวแบบในการวิเคราะห์การถดถอย 3 เกณฑ์ คือเกณฑ์ ซีพี เกณฑ์ข้อสนเทศของอาไคเคะ และเกณฑ์ข้อสนเทศของเบส์และเสนอการปรับเกณฑ์ซีพีในกรณี ที่ไม่สามารถสร้างตัวแบบเต็มรูปได้เนื่องจากตัวแปรอิสระที่นำมาพิจารณามีความสัมพันธ์เชิงเส้นต่อกันอย่างสมบูรณ์ การคัดเลือกตัวแบบโดยใช้เกณฑ์ซีพีที่ปรับแล้วที่นำเสนอ นำมาเปรียบเทียบกับการคัดเลือกตัวแบบโดยใช้เกณฑ์ข้อสนเทศของอาไคเคะ และเกณฑ์ข้อสนเทศของเบส์ โดยใช้วิธีการจำลองข้อมูล กำหนดขนาดตัวอย่างเท่ากับ 25 , 50 และ 100 นอกจากนี้ได้นำเสนอสถิติทดสอบซีพีที่ ปรับแล้วเพื่อใช้ในการทดสอบค้นหากลุ ...