Browsing GSAS: Theses by Title
Now showing items 1-20 of 171
-
A combination of graph ranking and term collocation information for image annotation
(National Institute of Development Administration, 2006); -
A graph-based information retrieval system
(National Institute of Development Administration, 2007); -
A hybrid approach for natural language database query translation
(National Institute of Development Administration, 2006); -
A mesh-based QoS aware multicast routing protocol
(National Institute of Development Administration, 2007); -
An artificial immunity-based spam detection system
(National Institute of Development Administration, 2007); -
An automatic Thai text summarization using topic-sensitive page rank
(National Institute of Development Administration, 2007); -
Effect of gender role on career advancement in Thai civil service
(National Institute of Development Administration, 2002); -
Enterprise application integration using publish/subscribe REST with IP multicast
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
เว็บเซอร์วิสเป็นเทคโนโลยีที่ถูกกำหนดมาตรฐานโดยองค์กร Word Wide Web Consortium หรือ W3C โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ซอฟต์แวร์สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โดยไม่ขึ้นอยู่กับภาษา เทคโนโลยีและแฟลตฟอร์ม ปัจจุบันถูกนำมาใช้งานอย่างแพร่หลายในการ บูรณการโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่มีอยู่องค์กรให้สามารถสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ แม้ว่าโปรแกรมประยุกต์เหล่านั้นจะมีเทคโนโลยี แฟลตฟอร์มที่แตกต่างกันก็ตาม แต่เว็บเซอร์วิสมี ข้อจำกัดประการสำคัญคือไม่ทราบสถานะล่าสุดของข้อมูลทำให้โปรแกรมที่เชื่อมต่ออยู่กันนั้นต้อง คอยดึงข้อมูลเป็นระยะหรือตามช่วงเวลาเพื่อ ... -
Face recognition using facial attractiveness
(National Institute of Development Administration, 2007); -
Improving intrusion detection systems using reference vectors
(National Institute of Development Administration, 2006); -
MIB design tool in XML-based network management system
(National Institute of Development Administration, 2007); -
On approximating K-Most probable explanations of Bayesian networks using genetic algorithms
(National Institute of Development Administration, 2006); -
Phoenix : เครื่องมือสำหรับช่วยในการเรียนรู้ HTTP และ SOAP
(National Institute of Development Administration, 2007); -
PIGA : partitioned inverted index using genetic algorithm
(National Institute of Development Administration, 2007); -
Student information system support using the Storage and Information Retrieval System (STAIRS)
(National Institute of Development Administration, 1986); -
The impact of macroeconomic factors on non-life insurance consumption in Thailand
(National Institute of Development Administration, 2012); -
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของมหาวิทยาลัย : ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการตัดสินใจออมเงินผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพของมหาวิทยาลัย และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกำรตัดสินใจออมเงินผ่านกองทุนสำรองเลี้ยง ชีพของบุคลำกรในมหำวิทยำลัยแห่งหนึ่งในเขตภำคเหนือตอนล่าง ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรของมหาวิทยำลัยแห่งหนึ่งในเขตภาคเหนือตอนล่ำง ที่ปฏิบัติงานมาไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 362 คน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้มาจาก 2 ส่วนคือ มูลค่าสินทรัพย์ต่อหน่วยสุทธิ (Net Asset Value: NAV) ระหว่างปี พ.ศ. 2550 – 2556 ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของมหาวิทยาลัย สำหรับคำนวณหาผลตอบแทนเพื่อเปรียบเท ... -
การกรองคำหยาบในข้อความภาษาไทยโดยไฟไนท์สเตทแมชชีน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2006); -
การกำหนดจำนวนอุตมะของผู้ให้บริการในระบบการขายสินค้าแบบเช่าซื้อ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1979);
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เขียนขึ้นเพื่อทดลองสร้างตัวแบบจำลองในการกำหนดจำนวนอุตตมะของผู้ให้บริการในระบบการขายสินค้าแบบเช่าซื้อ (Determination of the optional numbers of checkers in Hire-Purchase system) เพื่อการกำหนดจำนวนผู้ให้บริการให้พอดีกับงานบริการเพื่อให้ผลกำไรสูงสุด ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ต้องการจะศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีด้านนี้ เพื่อนำไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับการดำเนินงานของบริษัทห้างร้านที่ดำเนินธุรกิจค้าขายสินค้าแบบเช่าซื้อ โดยที่ข้อกำหนดและเงื่อนไขต่าง ๆ เป็นไปในรูปแบบเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันกับวิทยานิพนธ์นี้ เพื่อการดัดแปลงแก้ไข แล้วนำไปใช้ในการกำหน ... -
การกำหนดตำแหน่งสิ่งอำนวยความสะดวกบนเส้นทางวงแหวนรอบกรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, [1975])
การกำหนดพื้นที่บริเวณชานเมืองให้เป็นตำแหน่งที่ตั้งของสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการจราจรติดขัดในกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการผังนครหลวงได้กำหนดให้บริเวณเส้นทางคมนาคมรอบนอกของกรุงเทพมหานครหรือเส้นทางวงแหวนรอบนอกเป็นที่ตั้งของสิ่งอำนวยความสะดวกนอกเมือง จึงจำเป็นต้องศึกษาว่าบริเวณใดบนเส้นทางวงแหวนสมควรจะเป็นตำแหน่งของสิ่งอำนวยความสะดวก และศึกษาครอบคลุมไปถึงการตัดสินหาจำนวนสิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะสม ขนาดของสิ่งอำนวยความสะดวกแต่ละแห่ง ตลอดจนการจัดสรรการใช้บริการภายในระบบการจำแนกแจกแจง ปัจจัยที่นำมาศึกษาเพื่อกำหนดตำแหน่งของสิ่ ...