• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การใช้น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากเป็นปุ๋ยสำหรับการผลิตถั่วเหลือง

by นงค์นภา เกลี้ยงเกลา

Title:

การใช้น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากเป็นปุ๋ยสำหรับการผลิตถั่วเหลือง

Other title(s):

The use of Bio-extracted Water from stemona herb for fertilizer in soybean production

Author(s):

นงค์นภา เกลี้ยงเกลา

Advisor:

ธวัชชัย ศุภดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

Degree department:

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2008

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การใช้น้ําสกัดชีวภาพหนอนตายหยากเป็นปุ๋ยสําหรับการผลิตถั่วเหลือง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการเจริญเติบโต ผลผลิต และองค์ประกอบผลผลิตของถั่วเหลือง รวมถึงศึกษาลักษณะสมบัติทางเคมีปริมาณธาตุอาหาร และการสะสมโลหะหนักในดิน ได้แก่ ตะกั่วแคดเมียม และปรอท พืชทดลองใช้ถั่วเหลืองพันธุ์เชียงใหม่ 60 ทําการปลูก ณ แปลงทดลอง ที่สร้างขึ้นบริเวณอาคารชุดที่ 21 การเคหะแห่งชาติคลองจั่น กรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือน พฤษภาคม ถึง สิงหาคม พ.ศ. 2550 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์หน่วยการทดลองใช้น้ํา สกัดชีวภาพหนอนตายหยากต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน 1 : 1,000, 2 : 1,000, 3 : 1,000 และ 4 : 1,000 น้ําสกัดชีวภาพอีเอ็มต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน 1 : 1,000 ปุ๋ยเคมีและหน่วยการทดลอง ควบคุม รวม 7 หน่วยการทดลอง จํานวน 4 ซ้ำ ผลการศึกษา พบว่า น้ำสกัดชีวภาพหนอนตายหยากต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน 2 : 1,000 ส่งผลให้ถั่วเหลืองมีแนวโน้มการเจริญเติบโตในส่วนของน้ำหนักแห่งของฝัก น้ำหนักแห่งรวม ผลผลิต จํานวนฝักต่อต้น น้ำหนักเมล็ด และปริมาณโปรตีนในเมล็ดมากกว่าหน่วยการทดลอง อื่น ๆรวมถึงมีระยะการเจริญเติบโตทางการแพร่ขยายพันธุ์ที่ยาวกว่าปุ๋ยเคมีส่วนความสูง จํานวน ข้อและพื้นที่ใบนั้น ปุ๋ยเคมีมีค่าสูงกว่าเล็กน้อย ข้อเสนอแนะ คือการนําน้ำสกัดชีวภาพมาใช้ต้องอยู่ในปริมาณที่เหมาะสม เพราะน้ำสกัด ชีวภาพมีสภาพเป็นกรด หากใช้ในปริมาณที่มากเกินไปอาจทําให้ตกค้างในดินและทําให้พืชมี อาการแคระแกร็นและใบเหลือง (อาการเฝือใบ) ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและปริมาณ ผลผลิตของพืชได้

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008

Subject(s):

น้ำหมักชีวภาพ
ปุ๋ยชีวภาพ

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

10, 164 แผ่น ; 30 ซม.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2009
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b160902.pdf ( 1.87 MB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSSDE: Theses [559]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×