การประยุกต์ระบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อจำแนกเขตการท่องเที่ยวด้วยหลักการช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์
Publisher
Issued Date
2012
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
150 แผ่น ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วาสนา ทองตัน (2012). การประยุกต์ระบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อจำแนกเขตการท่องเที่ยวด้วยหลักการช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2025.
Title
การประยุกต์ระบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อจำแนกเขตการท่องเที่ยวด้วยหลักการช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์
Alternative Title(s)
Application of geographical information system in tourism zoning using recreation opportunity spectrum in Namnao National Park, Petchabun Province
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำแนกเขตการท่องเที่ยวตามหลักการช่วงชั้นโอกาส ด้านนันทนาการของแหล่งท่องเที่ยวทั้ง 9 แห่ง ภายในเขตอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว จังหวัด เพชรบูรณ์ ได้แก่ จุดชมวิวถ้ำผาหงษ์จุดชมวิวภูค้อ ถ้ำใหญ่น้ำหนาว (ภูวาริน) น้ำตกเหวทราย ป่าเปลี่ยนสี ภูผาจิต (ด่านอีป้อง) สวนสนบ้านแปก (ดงแปก) สวนสนภูกุ่มข้าว และที่ทำการ อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว เกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกเขตการท่องเที่ยวโดยการประยุกต์ใช้ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ประกอบด้วย 3 ปัจจัย ได้แก่ ระยะห่างจากถนนสายหลักและสายรอง ขนาดพื้นที่ป่าธรรมชาติที่ติดต่อเป็นผืนเดียวกัน และประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ส่วน การศึกษาประสบการณ์นันทนาการของนักท่องเที่ยว ใช้แบบสอบถามจำนวน 400 ชุด เก็บ ข้อมูลโดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และหาค่าเฉลี่ยของประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวได้รับใน แต่ละแหล่งท่องเที่ยว ผลการศึกษาพบว่า อุทยานแห่งชาติน้ำหนาวจำแนกเขตการท่องเที่ยวด้านกายภาพได้ 4 เขต คือ พื้นที่ธรรมชาติสันโดษ (P) มีขนาดพื้นที่ประมาณ 514.12 ตร.กม. หรือประมาณร้อย ละ 50.47 พื้นที่ธรรมชาติกึ่งสันโดษใช้ยานยนต์(SPM) มีขนาดพื้นที่ประมาณ 411.40 ตร.กม. หรือประมาณร้อยละ 40.38 พื้นที่ธรรมชาติดัดแปลงมีถนน (RN-M) มีขนาดพื้นที่ประมาณ 86.69 ตร.กม. หรือประมาณร้อยละ 8.51 พื้นที่ชนบท (R) มีขนาดพื้นที่ประมาณ 6.54 ตร.กม. หรือประมาณร้อยละ 0.64 ส าหรับผลการศึกษาประสบการณ์นันทนาการของนักท่องเที่ยวพบว่า มีความสอดคล้องกับด้านกายภาพ 2 แห่ง ได้แก่ จุดชมวิวถ้ำผาหงส์และจุดชมวิวภูค้อ และไม่ สอดคล้อง 2 แห่ง ได้แก่ ถ้ำใหญ่น้ำหนาวและที่ทำการอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว จากการิเคราะห์จึงนำไปสู่การจัดทำข้อเสนอแนะในการจัดการพื้นที่ให้เกิดความสอดคล้องระหว่างแต่ ละปัจจัย เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และลดผลกระทบอันเกิดจากการท่องเที่ยวต่อไป
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012