• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชนืที่ดินเชิงท่องเที่ยว อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี

by สไบทอง กันนะ

Title:

ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชนืที่ดินเชิงท่องเที่ยว อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี

Other title(s):

Environmental impact of tourism land use chage in Suan Phung District, Ratchaburi Province

Author(s):

สไบทอง กันนะ

Advisor:

จุฑารัตน์ ชมพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

Degree department:

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2013

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยนมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเชิงท่องเที่ยวอำเภอสวนผึ้งจังหวัดราชบุรี 2) ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ที่ดินเชิงท่องเที่ยวอําเภอสวนผึ้งจังหวัดราชบุรี 3) แนวทางในการควบคุมผลกระทบ สิ่งแวดล้อมและแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสมโดยงานวิจัยนเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลคือการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured Interviews) กับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ในพื้นที่ร่วมกับการศึกษาเอกสาร (Documentary Research) ผลการศึกษาพบว่าเหตุของการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเชิงท่องเที่ยวอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรีมีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของสถานประกอบการที่พักตากอากาศจากปัจจัย ดังนี้ 1) มีสภาพอากาศคล้ายภาคเหนือและธรรมชาติอุดมสมบรณ์ 2) ตังอยู่ใกล้กรุงเทพฯและ3) การเปิดให้เช่าพื้นที่อย่างเป็นทางการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่ราชบุรีนอกจากนจากการศึกษา นโยบายภาครฐพบวจังหวัดราชบุรีมีนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวแต่ขาดนโยบายส่งเสริมด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมขาดการส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวที่ชัดเจนขาดมาตรการในการควบคุม การใช้ประโยชน์ที่ดินและขาดหน่วยงานเข้ามาดูแลรับผิดชอบอย่างชัดเจนส่งผลให้เกิดผลกระทบ สิ่งแวดล้อมในแต่ละด้านดังนี้ 1) ด้านทรัพยากรกายภาพงผลกระทบต่อปริมาณน้ำในแหล่งน้ำผิว ดินซึ่งมีปริมาณลดลงและการสร้างฝ่ายกั้นน้ำทำให้ความสามารถในการระบายน้ำลดลง 2) ด้านทรัพยากรชีวภาพส่งผลกระทบต่อจำนวนของความหลากหลายทางชีวภาพบนบกทรัพยากรป่าไม ชพรรณและสัตว์ป่าเฉพาะถนนมีจํานวนลดลง 3) ด้านคุณค่าการใช้ประโยชน์มนุษย์ส่งผลกระทบ ต่อการใช้ที่ดินเนื่องจากทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินเกิดปัญหาขาดแคลนน้ำเพื่อนำมาใช้ เพิ่มระบบสาธารณูปโภคส่งผลกระทบต่อปรมาณไฟฟ้าเนื่องจากมความต้องการใชไฟฟ้าเพิ่มขึ้นแต่กำลังการผลิตไฟฟ้าเท่าเดิม เกิดปัญหาขาดแคลนน้ำประปาเพิ่มมากขึ้น มีปริมาณขยะและ สิ่งปฏิกูลเพิ่มขึ้น และมีการจราจรติดขัดในช่วงเทศกาล 4) ด้านคุณภาพชีวิต ส่งผลกระทบต่อด้านบริการสาธารณสุขจากการที่มีอุบัติเหตุเพิ่มมากขึ้น แต่ส่งผลกระทบทางบวกต่อเศรษฐกิจ/สังคม เนื่องจากประชาชนมีอาชีพที่มั่นคงและมีรายได้เพิ่มขึ้น และมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวแหล่ง ท่องเที่ยวในพื้นที่เพิ่มขึ้น ข้อเสนอแนะในการควบคุมผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินให้ เหมาะสมกับอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรีแบ่งออกเป็น 1) ภาครัฐควรแก้ไข ปัญหาเกี่ยวกับสิทธิ การครอบครองที่ดิน มีการออกกฎหมายในการควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้ชัดเจน เปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ 2) ผู้ประกอบการที่พักตากอากาศ ควรพัฒนาสถานประกอบการที่พักตากอากาศให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่มีคุณภาพได้มาตรฐานใส่ใจสิ่งแวดล้อม 3) ประชาชนควรให้ความใส่ใจแก่ปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น มีการสร้าง เครือข่ายประชาชนเพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมพัฒนาการทำการเกษตรกรรมให้เกิดความยั่งยืนและ 4) นักท่องเที่ยวควรเลือกท่องเที่ยวหรือพักในสถานประกอบการที่พักตากอากาศที่ไม่ทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติปฏิบัติตามกฎของสถานที่ท่องเที่ยวอย่างเคร่งครัด

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

175 แผ่น : ; 30 ซม.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2071
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b180544.pdf ( 3,426.50 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSSDE: Theses [559]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×