ความสามารถในการนำทุนทางสังคมออกมาใช้ของชุมชนบ้านบางไพร อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
Publisher
Issued Date
2011
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
10, 135 แผ่น ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
อาทิตย์ บุดดาดวง (2011). ความสามารถในการนำทุนทางสังคมออกมาใช้ของชุมชนบ้านบางไพร อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2088.
Title
ความสามารถในการนำทุนทางสังคมออกมาใช้ของชุมชนบ้านบางไพร อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
Alternative Title(s)
The social capital implementation ability of Ban Bang Phrai Community, Bangkhonthi District, Samut Songkram Province
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานะของทุนทางสังคมที่มีอยู่ในชุมชนบ้าน บางไพร 2) ศึกษาวิธีการนําทุนทางสังคมออกมาใช้ของชุมชนบ้านบางไพร และ 3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการนําทุนทางสังคมออกมาใช้ของชุมชนบ้านบางไพร เป็นการศึกษาเฉพาะกรณี โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก ใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับผู้ให้ข้อมูลที่สําคัญ 15 ราย ซึ่งผลการศึกษาพบว่า ชุมชนบ้านบางไพรมีทุนทางสังคมที่เด่นชัดที่สุด คือ “เครือข่ายทางสังคม” ที่มีความเข้มแข็ง มีผลงานและรางวัลมากมาย รองลงมา คือ “ความรู้และ ภูมิปัญญา” โดยเฉพาะด้านการประกอบอาชีพ อันดับ 3 คือ “ความเห็นอกเห็นใจ ต่างตอบแทน เอื้ออาทร ช่วยเหลือกัน” ซึ่งมีการแสดงให้เห็นมาตั้งแต่อดีตถึงปจจุบัน โดยมีการนํา ทุนทางสังคมไปใช้ใน 3 ระดับ คือ 1) ระดับเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชีวิตและครอบครัว ของตนเอง 2) ประโยชน์ต่อกลุ่มหรือเครือข่ายการประกอบอาชีพและการประกอบการ และ 3) กลุ่มหรือเครือข่ายการพัฒนาชุมชนโดยรวม ซึ่งปัญหาอุปสรรคที่พบในนําเอาทุนทางสังคม ออกมาใช้ ได้แก่ ปัญหาความขัดแย้งในผลประโยชน์ทางธุรกิจและการสนับสนุนแบบ เลือกปฏิบัติ ปัญหาคนทํางานสังคมมีน้อย ปัญหาความปลอดภัยจากนอกชุมชน และในการที่ทําให้ชุมชนมีลักษณะความสัมพันธ์และสภาพที่ชุมชนพึงปรารถนาได้นั้น จะต้องอาศัย กระบวนการในการขับเคลื่อน ได้แก่ การสร้างความตระหนักให้คนในชุมชนเริ่มคิดที่จะพัฒนา ชุมชนร่วมกัน การค้นหาศักยภาพและทุนทางสังคมในชุมชนที่เหมาะสม การสร้างผู้นําหรือ แกนนําเพิ่มขึ้น การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน การลงมือทําอย่าง มีส่วนร่วมทั้งชุมชน ภาครัฐและเอกชน การติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และมีการขยายผล
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การบริหารการพัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011