• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการมีมารยาททางสังคมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

by อนันต์ แย้มเยื้อน

Title:

ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการมีมารยาททางสังคมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

Other title(s):

Psycho-social factors as correlate of ethical behavior of the secondary school students

Author(s):

อนันต์ แย้มเยื้อน

Advisor:

ดุจเดือน พันธุมนาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

พัฒนาสังคม

Degree department:

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2008

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

อย่างเหมาะสม และวิถี ชีวิตแบบพุทธ และทำนายได้สูงสุดในกลุ่มชายที่รายได้สูง ได้ 53.4% และ 2) พฤติกรรมป้องกัน โรคเอดส์ขณะมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มรวมได้46.5% โดยมีลำดับตัวทำนายที่สำคัญเรียงจากมาก ไปน้อย คือ ความเชื่อในประสิทธิผลแห่งตนต่อการป้องกันโรคเอดส์ ทัศนคติต่อพฤติกรรม ป้องกันโรคเอดส์ การได้รับอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อนอย่างเหมาะสม การรับรู้การมีอยู่และความ สะดวกในการเข้าถึงอุปกรณ์ป้องกันโรคเอดส์ และสุขภาพจิต และทำนายได้สูงสุดในกลุ่มชายที่ ทำอาชีพอิสระหรือธุรกิจส่วนตัว ได้ 58.1% ประการที่ห้า ผลจากการวิเคราะห์อิทธิพลเชิงเส้นปรากฏว่า พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ ในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรเชิงเหตุ ปัจจัยแรกการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเอดส์ได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรเชิงเหตุ เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้1) ทัศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์2) ความเชื่อในประสิทธิผลแห่งตน ต่อการป้องกันโรคเอดส์3) การได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคเอดส์4) สุขภาพจิต 5) การได้รับ อิทธิพลจากกลุ่มเพื่อนอย่างเหมาะสม และ 6) วิถีชีวิตแบบพุทธ โดยตัวแปรเชิงเหตุในโมเดล สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเอดส์ได้ 43% ปัจจัยที่สอง พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ขณะมีเพศสัมพันธ์ได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรเชิง เหตุ เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้1) ความเชื่อในประสิทธิผลแห่งตนต่อการป้องกันโรคเอดส์ 2) ทัศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์3) การได้รับอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อนอย่างเหมาะสม 4) การรับรู้การมีอยู่และความสะดวกในการเข้าถึงอุปกรณ์ป้องกันโรคเอดส์และ 5) สุขภาพจิต โดยตัวแปรเชิงเหตุในโมเดล สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ ขณะมีเพศสัมพันธ์ได้ 46% และพบด้วยว่า การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเอดส์มี ความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ขณะมีเพศสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ (r = .22, p < .01) ประการที่หก ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเร่งด่วนที่ควรพัฒนา ได้แก่ 1) ชายที่มีการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเอดส์น้อย ประกอบด้วย ชายที่อายุมาก ชายที่เที่ยวกลางคืนทุกเดือน ชายที่เที่ยวกลางคืนมากกว่า 1 ครั้งต่อเดือน และชายที่ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ โดย มีปัจจัยปกป้องที่สำคัญ คือ ทัศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ความเชื่อในประสิทธิผลแห่งตนต่อการป้องกันโรคเอดส์สุขภาพจิต และการได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคเอดส์และ 2) ชายที่ มีพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ขณะมีเพศสัมพันธ์น้อย ประกอบด้วย ชายที่ไม่โสด ชายที่มีรายได้ต่ำและชายที่ไม่เคยตรวจเอชไอวี โดยมีปัจจัยปกป้องที่สำคัญ คือ ความเชื่อในประสิทธิผลแห่ง ตนต่อการป้องกันโรคเอดส์ทัศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์และการได้รับอิทธิพลจาก กลุ่มเพื่อนอย่างเหมาะสม จากผลการวิจัย ทำให้ได้ข้อเสนอแนะเพื่อต่อยอดการวิจัยได้ ดังนี้ 1) สามารถนำผลการวิจัยเพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการสร้างชุดฝึกอบรม เพื่อพัฒนาให้เกิดพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ที่เหมาะสม จากนั้นจึงดำเนินการทำการวิจัยเชิงทดลองประเมินผลชุดฝึกอบรมเหล่านี้ ต่อไป 2) ควรเพิ่มเติมตัวแปรอื่นในงานวิจัยชิ้นต่อ ๆ ไป เช่น รูปแบบความสัมพันธ์และลักษณะของคู่รักหรือเพื่อนสนิท 3) ศึกษากลุ่มตัวอย่างในพื้นที่อื่นซึ่งมีอัตราความชุกของการติดเชื้อเอช ไอวีในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายสูง นอกเหนือไปจากพื้นที่กรุงเทพมหานคร และ 4) เสริมผลการศึกษาที่ได้จากการวิจัยด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพในกลุ่มตัวอย่างที่สำคัญ เพื่อให้สามารถ ตอบคำถามการวิจัย ให้มีความครอบคลุมและละเอียดมากยิ่งขึ้น

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (พัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008

Subject(s):

นักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- พฤติกรรม
มารยาทและการสมาคม -- ไทย

Keyword(s):

มารยาททางสังคม
จิตลักษณะ

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

18, 314 แผ่น ; 30 ซม.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2121
Show full item record

Files in this item (EXCERPT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b160881ab.pdf ( 1,031.16 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b160881.pdf ( 1.65 MB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSSDE: Theses [555]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×