• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ทัศนคติของประชาชนต่อการใช้อาวุธปืนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษา ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

by ศิริพร เพ็งจันทร์

Title:

ทัศนคติของประชาชนต่อการใช้อาวุธปืนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษา ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

Other title(s):

Attitude of people toward using the firearms in the three southern border provinces of Thailand : a case study on Sungaipadi District, Narathiwat Province

Author(s):

ศิริพร เพ็งจันทร์

Advisor:

เกษมศาสต์ โชติชาครพันธุ์

Degree name:

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะรัฐประศาสนศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2013

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีเพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนไทยพุทธและไทยมุสลิมต่อการ ใช้อาวุธปืนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และค้นหานโยบายหรือข้อเสนอแนะที่เหมาะสมในการ ใช้อาวุธปื นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็ นการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบกันในพื้นที่หมู่ 1 บ้านไอกูบู (มุสลิม) หมู่ 6 บ้านควน (พุทธ) และ หมู่ 9 บ้านตลิ่งสูง (ผสม) ตาบลสุไหงปาดี อาเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส การวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามจาก ชาวบ้านจานวน 279 คน โดยความหาสัมพันธ์จากค่าความถี่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน ค่า คะแนนเฉลี่ยจากการตอบแบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสนทนากลุ่มจากตัวแทน ชาวบ้านจา นวน 25 คน ซึ่งเป็นผู้นา ชุมชน ผู้นา ตามธรรมชาติ และปราชญ์ชาวบ้าน เครื่องมือที่ใช้วัด ทัศนคติต่อการใช้อาวุธปืน คือ มิติความปลอดภัย มิติความกลัว และมิติความไว้วางใจ
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ชาวบ้านในหมู่ 6 บ้านควน (พุทธ) มีระดับความคิดเห็นสูงสุด ต่อการใช้อาวุธปืนเพื่อสร้างความปลอดภัยและลดความกลัว และชาวบ้านในหมู่ 1 บ้านไอกูบู (มุสลิม) มีระดับความคิดเห็นระดับสูงสุดต่อการใช้อาวุธปืนเพื่อสร้างความไว้วางใจ สาหรับผล การศึกษาเชิงคุณภาพ พบว่า ชาวบ้านทั้ง 3 หมู่บ้านมีความคิดเห็นว่าการใช้อาวุธปื น ไม่สามารถ แก้ไขปัญหาความรุนแรงในพื้นที่ได้ ในทางตรงกันข้ามเมื่อชาวบ้านครอบครองอาวุธปื นทา ให้เกิด ความไม่ไว้วางใจและสร้างความกลัวระหว่างประชาชนไทยพุทธและไทยมุสลิม นา ไปสู่ความไม่ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของตนเองและชุมชน
จากการศึกษาพบว่าข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้คือต้องการให้รัฐบาลยกเลิกนโยบายการ สนับสนุนอาวุธปื นในพื้นที่เนื่องจากไม่สามารถแก้ไขปัญหาในการสร้างความปลอดภัย ลดความ กลัวและการสร้างความไว้วางใจ แต่รัฐบาลควรสร้างความไว้วางใจเป็นยุทธศาสตร์หลักในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดความเข้าใจกันและร่วมถักทอความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนไทยพุทธและ ไทยมุสลิมตามแนวทางสันติวิธี

Subject(s):

การสำรวจทัศนคติ -- ไทย -- นราธิวาส -- สุไหงปาดี -- สุไหงปาดี
ปืน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

14, 237 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2422
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b181848.pdf ( 3,055.27 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSPA: Theses [297]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×