Browsing GSTM: Theses by Title
Now showing items 6-25 of 117
-
กระบวนการการพัฒนาสมรรถนะที่พึงประสงค์ของผู้ประสานงานในธุรกิจการจัดประชุม: กรณีศึกษา บริษัทจัดประชุมมืออาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
การศึกษาวิจัย “กระบวนการการพัฒนาสมรรถนะที่พึงประสงค์ของผู้ประสานงานในธุรกิจการจัดประชุม: กรณีศึกษา บริษัทจัดประชุมมืออาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร” มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทและสถานการณ์ของงานและสมรรถนะที่เกี่ยวข้องกับการประสานงานของผู้ประสานงานการจัดประชุม 2) เพื่อศึกษาองค์ประกอบปัจจัยในระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์กรในการพัฒนาสมรรถนะที่พึงประสงค์ของผู้ประสานงานการจัดประชุม 3) เพื่อศึกษากระบวนการการพัฒนาสมรรถนะที่พึงประสงค์ของผู้ประสานงานการจัดประชุมในบริษัทจัดประชุมมืออาชีพ โดยประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สมรรถนะ พฤติกรรมในระดับบุคคล ... -
กลยุทธ์การจัดการการตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอาหารของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจพฤติกรรมและความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาใช้บริการร้านอาหารท้องถิ่น 2) ประเมินศักยภาพการตลาดการท่องเที่ยวเชิงอาหารที่ส่งผลต่อกระบวนการการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ใช้บริการร้านอาหารท้องถิ่น และ 3) เสนอแนะกลยุทธ์การจัดการตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอาหารของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี โดยการวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 406 คน และเชิงคุณภาพใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้าง ... -
การจัดการพิพิธภัณฑ์สำหรับนักท่องเที่ยวกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการมาท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ของนักท่องเที่ยวกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านการจัดการพิพิธภัณฑ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจมาท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ของนักท่องเที่ยวกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการพิพิธภัณฑ์สำหรับนักท่องเที่ยวกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย โดยการใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากนักท่องเที่ยวชาวไทยกลุ่มเจเนอเรชั่นวายที่มีประสบการณ์ในการท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ จำนวน 400 คน ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เพื่อหาค่าความถี่ ... -
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิตวิญญาณ : ปัจจัยแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม่
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
- -
การพัฒนาคุณภาพการบริการเพื่อการตั้งใจกลับมาใช้บริการซ้ำของสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อประเมินคุณภาพการบริการของสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านคุณภาพการบริการที่มีผลต่อความตั้งใจในการใช้บริการซ้ำของสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทย ตัวแปรในการวิจัยประกอบด้วย ความเป็นรูปธรรมของการบริการ ความน่าเชื่อถือไว้วางใจ การตอบสนองผู้โดยสาร การให้ความมั่นใจแก่ผู้โดยสาร และความเห็นอกเห็นใจผู้โดยสาร ตัวอย่างของงานวิจัย คือ ผู้โดยสารชาวไทยที่ใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำมาแล้วไม่ต่ำกว่า 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2561 ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ... -
การพัฒนาตัวบ่งชี้ความเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
วิทยานิพนธ์เรื่อง การพัฒนาตัวบ่งชี้ความเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาตัวบ่งชี้ความเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 2) เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ความเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์สำหรับประเทศไทย ซึ่งกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญตลอดจนผู้ที่มีความรู้ทางด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทย ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญภาครัฐผู้เชี่ยวชาญภาคนักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญภาคประชาชน จำนวน 9 คน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการคัดเลือกตัวบ่งชี้ความเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ด้วยเทคนิค EDFR ซึ่งในการเก็บรวบรวมข้อมูลรอบที่ ... -
การพัฒนาตัวบ่งชี้มูลค่าทรัพยากรท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประเภทเกาะท่องเที่ยวทางทะเลของไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
- -
การพัฒนาตัวบ่งชี้มูลค่าทรัพยากรท่องเที่ยวทางธรรมชาติประเภทเกาะท่องเที่ยวทางทะเลของไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
- -
การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีจากมุมมองการรับรู้องค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยวภาพลักษณ์การท่องเที่ยว ทัศนคติ และความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยในพื้นที่อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการรับรู้องค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยว ภาพลักษณ์ ทัศนคติ และความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีผลต่อความจงรักภักดีต่อการท่องเที่ยวอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง 2) เพื่อพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีจากมุมมองการรับรู้องค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยว ภาพลักษณ์ ทัศนคติ และความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมภาพลักษณ์จากมุมมองการรับรู้ของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีผลต่อความจงรักภักดีในพื ... -
การรับรู้ของประชากรศาสตร์ที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
- -
การรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานเพื่อเสริมสร้างความทุ่มเทมีใจของพนักงานส่วนหน้า (Employee engagement) ของอุตสาหกรรมโรงแรมในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016); -
การวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยภายหลังเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016); -
การศึกษาเชิงสำรวจการจำแนกกลุ่มนักท่องเที่ยวญี่ปุ่นสูงอายุโดยเทคนิควิเคราะห์การจัดกลุ่มปัจจัยการตัดสินใจเดินทางแบบพำนักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อจัดกลุ่มปัจจัยการตัดสินใจเดินทางของนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นในจังหวัด เชียงใหม่ 2) เพื่อจำแนกกลุ่มนกั ท่องเที่ยวญี่ปุ่นสูงอายุแบบพำนักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่บนพื้นฐานปัจจัยการตัดสินใจเดินทางและพฤติกรรมการท่องเที่ยว 3) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวและปัจจัยการตัดสินใจเดินทางกับกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีการจำแนกกลุ่มแบบพำนักระยะยาวมีความแตกต่างกันหรือไม่ ศึกษาเป็น 3 ขั้นตอน 1) จัดกลุ่มปัจจัยด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบ การจัดกลุ่มความเหมือนกัน ไว้กลุ่มเดียวกัน 2) จำแนกกลุ่มนักท่องเที่ยวญี่ปุ่นสูงอายุ ... -
การศึกษาเชิงสำรวจการจำแนกกลุ่มนักท่องเที่ยวญี่ปุ่นสูงอายุโดยเทคนิควิเคราะห์การจัดกลุ่มปัจจัยการตัดสินใจเดินทางแบบพำนักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อจัดกลุ่มปัจจัยการตัดสินใจเดินทางของนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นในจังหวัด เชียงใหม่ 2) เพื่อจำแนกกลุ่มนัก ท่องเที่ยวญี่ปุ่นสูงอายุแบบพำนักระยะยาวในจังหวัด เชียงใหม่บนพื้นฐานปัจจัยการตัดสินใจเดินทางและพฤติกรรมการท่องเที่ยว 3)เพื่อศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวและปัจจัยการตัดสินใจเดินทางกับกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีการจำแนกกลุ่มแบบพำนักระยะยาวมีความแตกต่างกันหรือไม่ศึกษาเป็น 3 ขั้นตอน 1)จัดกลุ่มปัจจัยด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบการจัดกลุ่มความเหมือนกันไวกลุ่มเดียวกัน 2) จำแนกกลุ่มนักท่องเที่ยวญี่ปุ่นสูงอายุที่พำ ... -
การศึกษาแนวทางการสร้างมาตรการรักษาความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว กรณีศึกษา ถ้ำเลเขากอบ จังหวัดตรัง
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคาดหวังของนักท่องเที่ยวในด้านความปลอดภัยก่อนที่จะเดินทางมาท่องเที่ยวยังแหล่งท่องเที่ยวถ้ำเลเขากอบ จังหวัดตรัง 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวในด้านความปลอดภัยหลังจากที่ได้เข้าเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวแล้ว 3) ศึกษาสภาพปัญหาความปลอดภัยที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และ 4) ศึกษาแนวทางการสร้างมาตรการการรักษาความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวถ้ำเลเขากอบ จังหวัดตรัง -
การศึกษาพฤติกรรมของนักวิ่งระยะไกลกับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงกีฬา: กรณีศึกษาประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
วิทยานิพนธ์เล่มนี้มุ่งเน้นที่จะทำการศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมของนักวิ่งระยะไกลกับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงกีฬา: กรณีศึกษาประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยผลักดันที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการเข้าร่วมงานวิ่งระยะไกล เพื่อศึกษาถึงปัจจัยดึงดูดที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการเข้าร่วมงานวิ่งระยะไกล และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักวิ่งระยะไกลที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการเข้าร่วมงานวิ่ง ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่างคือนักวิ่งที่เคยเข้าร่วมงานวิ่งระยะทางขั้นต่ำ 10.5 กิโลเมตรขึ้นไปอย่างน้อย 1 ครั้ง และเป็นงานว ... -
การศึกษาอิทธิพลของการได้รับรองมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
- -
การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอัตลักษณ์ทางกลุ่มชาติพันธุ์ม้งผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษาหมู่บ้านม้งกิ่วกาญจน์ ตำบลริมโขง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 4 วัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อสำรวจอัตลักษณ์ทางกลุ่มชาติพันธุ์ม้งของหมู่บ้านชาวม้งกิ่วกาญจน์ (2) เพื่อศึกษาศักยภาพของอัตลักษณ์ทางกลุ่มชาติพันธุ์ม้งที่สามารถนำเอาไปสร้างมูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยวผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ได้ (3) เพื่อศึกษาศักยภาพในการจัดการการท่องเที่ยวของหมู่บ้านชาวม้งกิ่วกาญจน์ และ (4) เพื่อสร้างรูปแบบการท่องเที่ยว โดยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอัตลักษณ์ทางกลุ่มชาติพันธุ์ม้งผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างของการศึกษานี้ ...