Browsing GSCM: Theses by Author "บุหงา ชัยสุวรรณ"
Now showing items 1-20 of 25
-
กระบวนการสร้างตราสินค้าและการสื่อสารการตลาดออนไลน์สินค้าเกษตรอินทรีย์ ของ Smart Farmer
สุรชัย ศรีนรจันทร์; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
สื่อมีอิทธิพลต่อการกระจายข้อมูลข่าวสารในโลคยุคของการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว โดยการตลาดการเกษตรเป็นประเด็นสำคัญที่ต้องพึ่งพาสื่อเหล่านั้น การวิจัยนี้จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ในการกระตุ้นให้เกษตรกร หันมาใช้สื่อออนไลน์มากขึ้น ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นในการศึกษากระบวนการสร้างตราสินค้า ช่องทางการสื่อสารออนไลน์สินค้าเกษตรอินทรีย์ รวมไปถึงความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อสินค้าเกษตรอินทรีย์ จากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรปราดเปรื่อง 3 ตราสินค้าที่ได้รางวัล “เกษตรกรรักบ้านเกิด” จำนวน 3 คน ใน 3 จังหวัด คือ เชียงราย นครราชสีมา และราชบุรี โดยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถาม ... -
กระบวนการสื่อสารและการสร้างการยอมรับการแพทย์แผนไทย
กฤษฎา มอมุงคุณ; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
การศึกษาวิจัยเรื่อง กระบวนการสื่อสารและการสร้างการยอมรับการแพทย์แผนไทย มีวัตถุประสงค์การ วิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาวางแผนการสื่อสารการแพทย์แผนไทย 2) เพื่อศึกษากระบวนการสร้างการยอมรับ การแพทย์แผนไทย โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้วิธีการเก็บข้อมูล ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) ผู้ประกอบการแห่งละ 1 คน จาก 3 องค์กร ได้แก่ โกมารภัจจ์สหคลินิก, บริษัท กาโนเอ็กเซลเอ็นเตอร์ไพร์ส (ประเทศไทย) จำกัด และโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์แบบผสมผสานด้านโรคมะเร็งสกลนคร(วัดคำประมง) พร้อมด้วยผู้มารับบริการท ... -
การตลาดเชิงประสบการณ์กับความภักดีของผู้บริโภคในการชมการแสดงทอล์คโชว์
ชัชชพันธ์ เล็กเจริญ; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทัศนคติที่มีต่อการตลาดเชิงประสบการณ์ของผู้บริโภคที่เข้าชมการแสดงทอล์คโชว์ 2) เพื่อศึกษาความภักดีของผู้บริโภคที่เข้าชมการแสดงทอล์คโชว์และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และอำนาจในการพยากรณ์ระหว่างทัศนคติที่มีต่อการตลาดเชิงประสบการณ์กับความภักดีของผู้บริโภคที่เข้าชมการแสดงทอล์คโชว์ โดยมีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิจัยจากกลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีประสบการณ์ในการเข้าร่วมชมการแสดงทอล์คโชว์ของนักแสดงท่านใดท่านหนึ่งอย่างน้อย 2 ครั้ง จำนวน 406 คน ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ผู้บริโภคที่เข้าชมการแสดงทอล์คโชว์ ... -
การตอบสนองของผู้บริโภคที่มีต่อการตลาดแบบไวรัล เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ส เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวาย
พรจันทร์ วงค์คุ้มสิน; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาการตอบสนองของผู้บริโภคที่มีต่อการตลาดแบบไวรัส (Viral Marketing) โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาดังต่อไปนี้ 1. เพื่อศึกษาการเปิ ดรับสื่อ Viral Marketing ของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์ส เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวาย 2. เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์ส เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวายที่มีต่อ Viral Marketing 3. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์ส เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวายที่มีต่อ Viral Marketing 4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิ ดรับสื่อ ทัศนคติ ... -
การยอมรับสื่อหลอมรวมและการตอบสนองต่อโฆษณา
อังคณา จงไทย; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ มุ่งศึกษาระดับ การยอมรับสื่อหลอมรวม, การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้ความง่ายในการใช้สื่อหลอมรวม ตลอดจนศีกษาถึง การตอบสนองของผู้บริโภคต่อ โฆษณาสื่อหลอมรวม โดยครอบคลุมสื่อหลักทั้งหมด 3 สื่อได้แก่ โทรทัศน์ วิทยุ และ หนังสือพิมพ์ที่มี การหลอมรวมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตด้วยรูปแบบการออนไลน์ ทำการศึกษาโดยการ วิจัยเชิงสำรวจ จากกลุ่มผู้ที่มีการใช้สื่อหลอมรวม จำนวน 400 ตัวอย่าง -
การสื่อสารพุทธศาสนาจากมูลนิธิทางศาสนาสู่พุทธศาสนิกชนเจเนอเรชั่นวาย
วรรณธัช ประเสริฐ; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
งานวิจัยนี้นี้มุ่งศึกษาการสื่อสารพุทธศาสนาจากมูลนิธิทางศาสนาสู่พุทธศาสนิกชนเจเนอเรชั่น วาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะของมูลนิธิทางศาสนาที่ทำการสื่อสารพระพุทธศาสนา ศึกษา กลวิธีการสื่อสารพระพุทธศาสนา ศึกษาการรับรู้การสื่อสารและการมีส่วนร่วมในการสื่อสารพระ พุทธศานาของกลุ่มคนเจเนอเรชั่นวาย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) พร้อมทั้งเก็บข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จาก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบในกระบวนการสื่อสารและกิจกรรม ของหอจดหมายเหตุ พุทธ ทาส อินทปัญโญ กรุงเทพฯ 3 ... -
การเสริมสร้างรูปแบบการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก
ภพพรหมินทร์ วโรตม์วัฒนานนท์; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการของการรู้เท่าทันสื่อ กระบวนการ เสริมสร้างการรู้เท่าทนั สื่อ และปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก -
ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร : การรับรู้คุณภาพการบริการภาพลักษณ์องค์กร ความไว้วางใจ และพฤติกรรมของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี
วรมน บุญศาสตร์; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับทัศนคติของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี ต่อรูปแบบความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณภาพ การบริการ ภาพลักษณ์องค์กร และความไว้วางใจกับพฤติกรรมความตั้งใจซื้อและการบอกต่อของ ผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี3) เพื่อศึกษาทัศนคติต่อรูปแบบความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรที่เป็น ปัจจัยพยากรณ์การรับรู้และพฤติกรรมของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริโภคเจน เนอเรชั่น ซี อายุ 18–44 ปี จ านวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปร ... -
ความรู้สึกถึงความเป็นชุมชนของกลุ่มผู้เล่นโปเกม่อน โกในสังคมไทย
พศิน เหล่าแสงธรรม; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของผู้เล่นเกมโปเกม่อน โกในสังคมไทย 2) เพื่อศึกษาความรู้สึกถึงความเป็นชุมชนและพฤติกรรมการเล่นของผู้เล่นเกมโปเกม่อน โกในสังคมไทย 3) เพื่อศึกษาความแตกต่างของพฤติกรรมการเล่นเกมโปเกม่อน โก ของผู้เล่นที่มีลักษณะประชากรที่แตกต่างกัน และ 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความรู้สึกถึงความเป็นชุมชน และพฤติกรรมการเล่นของผู้เล่นโปเกม่อน โกในสังคมไทย โดยงานวิจัยดังกล่าวใช้วิธีการศึกษาเชิงผสมผสาน ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้เล่นโปเกม่อน โก 30 คน และการวิจัยเชิงสำรวจด้วยแบบสอบถามกับกลุ่มผู้เล่นโปเกม่อน ... -
ความสัมพันธ์ระหว่างความมีนวัตกรรมของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการชมละครโทรทัศน์ออนไลน์ ที่มีต่อการยอมรับและการเป็นแฟนคลับละครผลิตซ้ำที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุค
วิขชุดา กิมอ่วม; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1)ความสัมพันธ์ระหว่างความมีนวัตกรรมของ ผู้บริโภคกับ พฤติกรรมการชมละครโทรทัศน์ออนไลน์ 2)ความสัมพันธ์ระหว่างความมีนวัตกรรม ของผบู้ริโภคกับการยอมรับละครผลิตซ้า ที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุค และ 3)ความสัมพันธ์ระหว่างความ มีนวัตกรรมของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการเป็นแฟนคลับละครผลิตซ้ำ ที่เป็นแนวเรื่องย้อนยุค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังคือกลุ่ม Net Gen อายุระหว่าง 18-35 ปีจำนวน 400 โดย ใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็ นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ... -
จริยธรรมนักข่าวพลเมืองในการนำเสนอข่าวเด็กผ่านสื่อสังคมออนไลน์
เทียนทิพย์ เดียวกี่; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาของการนำเสนอข่าวเด็กของนักข่าวพลเมืองในสื่อสังคมออนไลน์ 2) สร้างแนวทางจริยธรรมในการนำเสนอข่าวเด็กของนักข่าวพลเมืองในสื่อสังคมออนไลน์ที่เหมาะสม และ 3) ศึกษาแนวความคิดเห็นจากแนวทางจริยธรรมการนำเสนอข่าวเด็กของนักข่าวพลเมืองในสื่อสังคมออนไลน์ โดยเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods research) ซึ่งศึกษาจากเอกสาร และการให้ข้อมูลของผู้ให้ข้อมูลหลัก โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จำนวน 16 คน แบ่งออกเป็นตัวแทนนักข่าวพลเมือง 4 คน ตัวแทนกลุ่มนักข่าววิชาชีพ จำนวน 4 คน ตัวแทนกลุ่มนักวิชาการด้ ... -
ทัศนคติ การรู้เท่าทันสื่อ และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณา ออนไลน์
นิฤมล หิรัญวิจิตรภรณ์; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ 1. เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อ โฆษณาออนไลน์ 2. เพื่อศึกษาการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาออนไลน์ของผู้บริโภค และ3. เพื่อศึกษา พฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาออนไลน์ของผู้บริโภค โดยเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ( Quantitative Research) ใช้การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research Method) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) รวบรวมจากกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ที่มีช่วงอายุ ระหว่าง 18-68 ปี ซึ่งแบ่งกลุ่มตัวอย่างตามทฤษฎีเจเนอร์เรชั่น ได้แก่กลุ่มเบบี้บูมเมอร์ อายุระหว่าง 50-68 ปี เจเนอร์ เรชั่นเอ็กซ์ ... -
ทัศนคติ พฤติกรรม และความคล่องดิจิทัลของกลุ่มดิจิทัลเนทีฟ
ศุภกร จูฑะพล; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การวิจัยครั้ง นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทัศนคติต่อการดำเนินชีวิต พฤติกรรมการ ดำเนินชีวิต และความคล่องดิจิทัลของกลุ่มดิจิทัลเนทีฟ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของทัศนคติ ต่อการดำเนินชีวิต และพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่มีต่อความคล่องดิจิทัลของกลุ่มดิจิทัลเนทีฟ และ 3) เพื่อศึกษาตัวแปรที่เป็นปัจจัยพยากรณ์ความคล่องดิจิทัล งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาวิจัย เชิงปริมาณ โดยการใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างดิจิทัลเนทีฟ ผู้มีอายุ 15-24 ปี และมีประสบการณ์ในการใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ต่ำกว่า 5 ปี ในเขต กรุงเทพมหานคร จำนวน 402 คน ... -
ประสบการณ์การท่องเที่ยวและพฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลการท่องเที่ยวผ่านเว็บไซต์กลุ่มดิจิทัลเนทีพและดิจิทัลอิมมิแกรนด์
ภาพพิมพ์ เพชรศิริ; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การท่องเที่ยวและการแสวงหา ข้อมูลการท่องเที่ยวผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตเพื่อการตัดสินใจท่องเที่ยวภายในประเทศ กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มดิจิทัล เนทีฟ และกลุ่มดิจิทัลอิมมิแกรนด์ รวมทั้งสิ้น 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ และสถิติที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน T-Test One-way ANOVA ผลการวิจัย พบว่า (1) ประสบการณ์การท่องเที่ยวภายในประเทศไทย พบว่า กลุ่ม ดิจิทัล เนทีฟ มีประสบการณ์การท่องเที่ยวภายในประเทศไทยมากกว่ากลุ่มดิจิทัลอิมมิแกรนด์ ... -
ปัจจัยด้านการยอมรับและปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์กับพฤติกรรมการซื้อ
ปัทมา แย้มไพเราะ; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน การรับรู้ถึง ประโยชน์ที่ได้รับ การรับรู้ความสนุกสนาน ปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์และ พฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอาง 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ความง่ายในการใช้ งาน การรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ การรับรู้ความสนุกสนานกับปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคม ออนไลน์ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน การรับรู้ถึง ประโยชน์ที่ได้รับ การรับรู้ความสนุกสนานกับพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอาง และ 4) เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายส ... -
ปัจจัยพยากรณ์การใช้งานการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
วิภาวี จันทร์แก้ว; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแรงสนับสนุนทางสังคม โครงสร้างการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ การรับรู้ความเสี่ยง ความไว้วางใจ ความกังวลความเป็นส่วนตัว การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว และความตั้งใจใช้งานการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคม โครงสร้างการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ การรับรู้ความเสี่ยง ความไว้วางใจ ความกังวลความเป็นส่วนตัว การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว และความตั้งใจใช้งานการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 3) เพื่อศึกษาตัวแปรที่มีประสิทธิภาพในการอธิบายหรือพยากรณ์ความตั้งใจใช้ ... -
ผลกระทบจากโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊กและแนวทางการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊ก
ณพล ผลากรกุล; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลกระทบ และสร้างแนวทางสร้างการรู้เท่าทันสื่อ ต่อโฆษณาบนเว็บไซต์เครือข่ายสังคมประเภทเฟซบุ๊ก ด้วยการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งหมดจํานวน 15 คน แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มได้แก่ กลุ่มผู้ที่ทํางานเกี่ยวข้องกบการผลิตสื่อโฆษณา กลุ่มตัวแทนผู้บริโภค และเฝ้ าระวังสื่อ และกลุ่มนักวิชาการด้านสื่อมวลชน โดยผลการวิจัยพบดังนี้ 1) สภาวะปัญหาต่างๆ และผลกระทบทางด้านลบของโฆษณาบนสื่อสังคม ประเภทเฟซบุ๊กแบ่งออกเป็น (1.1) สภาวะปัญหาเกี่ ยวกบความสามารถใ ... -
พฤติกรรมการเปิดรับสื่อ และพฤติกรรมการบริโภคสินค้า ที่เกี่ยวข้องกับภาพยนตร์แอนิเมชั่นของกลุ่มโอตาคุ
นภัค จิตศานติกุล; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการเปิดรับสื่อและการบริโภคสินค้าที่เกี่ยวข้องกับภาพยนตร์แอนิ เมชั่นของกลุ่มโอตาคุ” มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ ได้แก่ (1) เพื่อศึกษาการเปิดรับสื่อภาพยนตร์แอนิเมชั่น ของกลุ่มโอตาคุ (2) เพื่อศึกษาการบริโภคสินค้าที่เกี่ยวข้องกับภาพยนตร์แอนิเมชั่นของกลุ่มโอตาคุ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้รูปแบบการวิจัย 3 รูปแบบประกอบกันคือ (1) การสังเกต (Observation) โดยสังเกตในฐานะผู้สังเกตอย่างไม่ได้มีส่วน ร่วมโดยสมบูรณ์ในงาน Thailand Comic Con 2014 ซึ่งจัดขึ้นที่สยามพารากอน ระหว่างวันที่ 9-11 พฤษภาคม ... -
รูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดเผยตนเองในเฟซบุ๊ก และพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการทางออนไลน์ของกลุ่มชายรักชาย
ปรภัต จูตระกูล; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อหาลักษณะของรูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดเผยตนเองในเฟซบุ๊ก และพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการทางออนไลน์ของกลุ่มชายรักชาย 2) เพื่อศึกษาความแตกต่างของกลุ่มรูปแบบการดำเนินชีวิต และการเปิดเผยตนเองในเฟซบุ๊กของกลุ่มชายรักชาย 3) เพื่อศึกษาความแตกต่างของกลุ่มรูปแบบการดำเนินชีวิต และพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการทางออนไลน์ ของกลุ่มชายรักชาย โดยเป็นงานวิจัยแบบผสมผสาน เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การสัมภาษณ์กลุ่ม จากกลุ่มชายรักชายอายุระหว่าง 20-35 ปี จำนวน 13 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ... -
สมการโครงสร้างแบบจำลองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจทำศัลยกรรมความงามของผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร
ไอยวริญ ด่านชัย; บุหงา ชัยสุวรรณ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2019)
การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาถึงปัจจัยการรับรู้ตัวตนเสมือนวัตถุ การเห็นคุณค่าตนเอง การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม การนำเสนอตัวตนบนสื่อสังคมออนไลน์ ทัศนคติต่อการศัลยกรรมความงาม และความตั้งใจทำศัลยกรรมความงามของผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการรับรู้ตัวตนเสมือนวัตถุ การเห็นคุณค่าตนเอง การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม การนำเสนอตัวตนบนสื่อสังคมออนไลน์ ทัศนคติต่อการศัลยกรรมความงาม และความตั้งใจทำศัลยกรรมความงามบนใบหน้าของผู้ ...