Browsing GSCM: Theses by Author "พัชนี เชยจรรยา"
Now showing items 1-20 of 36
-
กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดดิจิทัลของร้านค้าผลิตภัณฑ์ความงามอีฟแอนด์บอย (EVEANDBOY) บนอินสตาแกรมสตอรี่ (Instagram stories) กับรูปแบบการดำเนินชีวิต การใช้สื่อ และพฤติกรรมตอบสนองของผู้ใช้งาน
ณัฐสินี กรรโมทาร; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2019)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดดิจิทัลของร้านค้าผลิตภัณฑ์ความงามบน Instagram stories (2) รูปแบบการดำเนินชีวิต, การใช้สื่อ , พฤติกรรมตอบสนองบน Instagram stories ของผู้ใช้งานเป็นอย่างไร (3) ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิตกับพฤติกรรมตอบสนองบน Instagram stories ของผู้ใช้งาน (4) ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิตกับการใช้สื่อบน Instagram stories ของผู้ใช้งาน (5) ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สื่อกับพฤติกรรมตอบสนองบน Instagram stories ของผู้ใช้งาน เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ... -
กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketing) กับการรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
ดาณี ทรงศิริเดช; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketing)ของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketing) และศึกษาพฤติกรรมการรับรู้ทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ในการวจิยั คร้ังนี้ผู้วิจัยได้ทำการวิจัย 2 แบบคือ วิจัยเชิงคุณภาพ และวิจัยเชิงปริมาณ โดยในการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ความคิดเห็นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำการตลาดแบบพันธมิตร หรือผู้ทำการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketer) เกี่ยวกับกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketing) ... -
กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าไหมของชุมชนบ้านประทุม
ปัญญรัตน์ วันทอง; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
จากผลการศึกษาเชิงคุณภาพเกี่ยวกับกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้า ไหมของชุมชนบ้านประทุน พบว่า มีวิธีการถ่ายทอดโดยการอาศัยบุคคลเป็ นแหล่งความรู้ในการ สาธิต เน้นการปฏิบัติและลงมือทา ซึ่งบ้านถือเป็นแหล่งถ่ายทอดที่สาคัญ ในการถ่ายทอดใช้การ เรียนรู้แบบมุขปาฐะ คือ การเรียนรู้จากบรรพบุรุษถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง แหล่งความรู้ที่ สาคัญคือ ครอบครัว ใช้วิธีสอนด้วยการปฏิบัติจริง อธิบายการทาด้วยการบอกเล่า มีการรวมกลุ่ม กันเพื่อทอผ้าไหมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าไหมซึ่งกันและกัน ชุมชนบ้านประทุนมีการใช้กลยุทธ์สื่อประเภทต่างๆ ... -
กลยุทธ์การสื่อสารและปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษาในมหาวิทยาลัยเปิดยุคดิจิทัล
วรรณภา นิ่มอ่อน; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2021)
วิทยานิพนธ์เรื่องกลยุทธ์การสื่อสารและปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อระดับบัณฑิต ศึกษาในมหาวิทยาลัยเปิดยุคดิจิทัล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กลยุทธ์การสื่อสารที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษาในมหาวิทยาลัยเปิดยุคดิจิทัล 2) ความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษาในมหาวิทยาลัยเปิดยุคดิจิทัล 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณค่าตราสินค้ากับการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษาในมหาวิทยาลัยเปิดยุคดิจิทัล 4) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการกับการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับบ ... -
กลยุทธ์สื่อบุคคลเพื่อสร้างเครือข่ายการสื่อสารอย่างมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนา "เกษตรอินทรีย์"
รุจิรา จิตต์ตั้งตรง; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การวิจัยครั้งนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เพื่อศึกษาคุณลักษณะ และบทบาทของ ปราชญ์ชาวบ้าน บ้านชำปลาไหล ตำบลสองพี่น้อง อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี (2) เพื่อศึกษากล ยุทธ์ของปราชญ์ชาวบ้านในการสร้างเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ (3) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของ เกษตรกรที่เข้าร่วมกลุ่มเกษตรอินทรีย์ (4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของเกษตรกรที่มีต่อปราชญ์ ชาวบ้านและเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ -
การจัดการการสื่อสารเพื่อการจัดระเบียบชุมชนและสถานบันเทิงชุมชนคลองหก จังหวัดปทุมธานี
ณพนันท์ ขอจิตต์เมตต์; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะการสื่อสารของผู้ส่งสาร ศึกษาเนื้อหาสาร ศึกษาช่องทางการสื่อสารที่ใช้ในการจัดการการสื่อสารเพื่อการจัดระเบียบชุมชนและสถานบันเทิง ตลอดจนศึกษาทัศนคติของผู้รับสารที่มีต่อการจัดการการสื่อสารเพื่อการจัดระเบียบชุมชนและ สถานบันเทิงชุมชนคลองหก จังหวัดปทุมธานี -
การจัดการการสื่อสารเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมคลองแสนแสบกับการรับรู้ของประชาชนชุมชนมัสยิดกมาลุลอิสลาม
ธัญวรรณ แก้วชะฎา; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการการสื่อสารเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมคลองแสนแสบ การรับรู้และทัศนคติของประชาชนชุมชนมัสยิด กมาลุลอิสลามต่อการจัดการการสื่อสารเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมคลองแสนแสบ รวมทั้งเปรียบเทียบและหาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการการสื่อสารเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของคนในชุมชนที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกัน -
การตอบสนองของผู้บริโภคต่อสื่อแฝงในบรรยากาศ
เมทนี แพน้อย; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับรู้และทัศนคติ ที่มีต่อสื่อแฝงในบรรยากาศ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการรับรู้และทัศนคติที่มี ต่อสื่อแฝงในบรรยากาศ และ 3) เพื่อศึกษารูปแบบการนา เสนอของสื่อแฝงในบรรยากาศทั้งในไทย และต่างประเทศ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม ซึ่งได้ผสมผสานวิธีการเก็บข้อมูลและการศึกษา ผลการวิจัย 2 วิธี ทั้งแบบเชิงคุณภาพ ในการศึกษารูปแบบการนา เสนอของสื่อแฝงในบรรยากาศใน เขตกรุงเทพมหานครที่ปรากฎในช่วงเวลาที่กาหนด และเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือวิจัยในการเก็บรวบรวมข้อมูล ... -
การรังแกทางไซเบอร์ผ่านสื่อออนไลน์ สาเหตุ และแนวทางการจัดการปัญหา
พินวา แสนใหม่; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อทราบสาเหตุการของการรังแกทางไซเบอร์ในสื่อออนไลน์ 2.เพื่อทราบรูปแบบการรังแกทางไซเบอร์ผ่านสื่อออนไลน์ 3.เพื่อทราบผลกระทบจากการกลั่นกลั่นแกล้งทางออนไลน์จากเนื้อหาของสื่อออนไลน์ 4.เพื่อทราบแนวทางในการป้องกันกลั่นแกล้งทางออนไลน์จากการนำเสนอเนื้อหาของสื่อออนไลน์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญ โดยมีขอบเขตการศึกษาเป็นกรณีศึกษาการรังแกทางไซเบอร์ที่เกิดขึ้นในปี 2561 กรณีบุคคลทั่วไป 1 กรณี คือ “เจ้าบ่าวหนีงานแต่ง” และกรณีศึกษาในบุคคลมีชื่อเสียง 3 กรณี คือ กรณี ... -
การรับรู้ของผู้อ่านและการจัดการองค์กรหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นภาคใต้โฟกัสในยุคดิจิทัล
พิกุลทิพย์ ยุระพันธุ์; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม แบ่งรูปแบบการศึกษาวิจัยออกเป็น 2 ส่วน คือ (1) การวิจัยเชิงปริมาณ จากกลุ่มตัวอย่างที่เคยอ่านหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นภาคใต้โฟกัส จำนวน 400 คน มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์การเปิดรับสื่อกับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารขององค์กรหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นภาคใต้โฟกัส โดยใช้สถิติเชิงอนุมานทดสอบค่าเฉลี่ยโดยความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหความสัมพันธ์ของเพียร์สัน และ (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้อำนวยการและกองบรรณาธิการที่มีบทบาทต่อการกำหนดนโยบาย ... -
การรับรู้ข่าวสารการตลาดและการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางของคนรุ่นใหม่เพศหญิงผ่านกูรูความงาม
วิลาสินี สงวนวงษ์; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 6 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาเนื้อหาและรูปแบบการนำเสนอ เครื่องสำอางผ่านกูรูความงาม 2) เพื่อศึกษาการรับรู้ข่าวสารด้านการตลาดเกี่ยวกับเครื่องสำอางผ่าน กูรูความงาม 3) เพื่อศึกษาการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางผ่านกูรูความงาม 4) เพื่อศึกษาความแตกต่าง ระหว่างลักษณะประชากรกับการรับรู้ข่าวสารการตลาดเครื่องสำอางผ่านกูรูความงาม 5) เพื่อศึกษา ความแตกต่างระหว่างลักษณะประชากรกับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางผ่านกูรูความงาม และ 6) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข่าวสารการตลาดกับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางผ่านกูรู ความงาม ... -
การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งผ่านสื่อสังคมออนไลน์กับทัศนคติและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
เมษิยา ญาณจินดา; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรของประชาชนในเขต กรุงเทพมหานคร และการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งผ่านสื่อสังคมออนไลน์กับทัศนคติและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้ คือ ประชาชนที่มีสิทธิเลือกตั้งในเขตกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม จานวน 400 ชุด การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาเพื่อหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมานเพื่อวิเคราะห์ค่าที (t - test) การวิเคราะห ... -
การรับรู้และกลยุทธ์การใช้งาน Google AdWords ของคนทำงานในกรุงเทพมหานคร
ศรัณยู มณีรอด; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
งานวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กลยุทธ์การใช้งาน, การรับรู้, ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้และการใช่งาน และแนวทางในการใช้งาน Google AdWords ของคนทำงานในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้ที่ทำงานอยู่ในกรุงเทพมหานคร มีอายุ 22-60 ปี เนื่องจากเป็นช่วงวัยทำงานมีพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตความถี่ รวมถึงมีประสบการณ์ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ -
การศึกษากลยุทธ์การสื่อสารแนวคิดการตลาดเชิงประสบการณ์ ของ สถานที่ท่องเที่ยวดาษดา แกลเลอรี่
สุพรรณี สมศรี; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อค้นหากลยุทธ์ของการสื่อสารผ่านประสบการณ์ของสถานที่ท่องเที่ยวดาษดา แกลเลอรี่ รวมถึงศึกษาการรับรู้ข่าวสารผ่านประสบการณ์ การตัดสินใจมาเที่ยว ความพึงพอใจ และพฤติกรรมหลังใช้บริการของนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการสถานที่ท่องเที่ยวดาษดา แกลเลอรี่ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยงานวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการค้นหากลยุทธ์ของการสื่อสารผ่านประสบการณ์ของสถานที่ท่องเที่ยวดาษดา แกลเลอรี่ ผู้วิจัยใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ที่มีตำแหน่งเกี่ยวข้องในสถานที่ท่องเที่ยวดาษดา แกลเลอรี่ จำนวน 8 คน นอกจากนี้ยังใช้การสังเกตการณ์ของผู้วิจ ... -
การศึกษาการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจของแอปพลิเคชันหาคู่บนโทรศัพท์มือถือของกลุ่มชายรักชาย (เกย์)
วรยุทธ พายพายุห์; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประโยชน์และความพึงพอใจการใช้แอปพลิเคชัน หาคู่บนโทรศัพท์มือถือของกลุ่มชายรักชาย (เกย์) รวมทั้งศึกษาปัจจัยการใช้แอปพลิเคชันหาคู่บน โทรศัพท์มือถือของชายรักชายและศึกษาความคาดหวังการใช้แอปพลิเคชันหาคู่ด้านรูปแบบเนื้อหา ของกลุ่มชายรักชาย รวมถึงเพื่อศึกษาภาพสะท้อนคนรักเพศเดียวกันในสังคมที่ปรากฏในแอปพลิเคชัน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเกณฑ์พิจารณาจากการ คัดเลือกจากเพศชายรักชาย จำนวน 10คน โดยคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญจากการใช้งานแอปพลิเคชันจริง มีอายรุ ะหว่าง 20-35 ปีและเข้าใช้งานมากกว่า2 ... -
การสื่อสารนวัตกรรมการพัฒนาของกิจการเพื่อสังคมองค์กรนวัตกรรมชาวบ้าน
ขวัญชนก หมั่นหมาย; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) กระบวนการสื่อสาร รูปแบบการสื่อสาร กลยุทธ์ การสื่อสารขององค์กรนวัตกรรมชาวบ้าน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน(2) ศึกษาบทบาทการสื่อสาร ขององค์กรนวัตกรรมชาวบ้านในการพัฒนาด้านสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม (3) ศึกษาปัจจัย การสื่อสารที่มีผลต่อการพัฒนาขององค์กรนวัตกรรมชาวบ้าน รวมถึงแนวโน้มการสื่อสารใน อนาคตขององค์กรนวัตกรรมชาวบ้าน (4) ศึกษาประสิทธิผลการใช้นวัตกรรมขององค์กรนวัตกรรม ชาวบ้าน งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม (Mixed Methodology) ผลการศึกษาพบว่า : -
การสื่อสารเพื่อการธำรงรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชนถนนยมจินดา จังหวัดระยอง
ภัทราพร เนาวรัตน์ธนากร; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการคงอยู่และการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ ทางวัฒนธรรมของชุมชนถนนยมจินดา 2) ศึกษาบทบาทและหน้าที่ของการสื่อสารที่มีต่อการคง อยู่และการเปลี่ยนแปลงของอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชนถนนยมจินดา 3) ศึกษาปัจจัยที่ มีผลต่อการคงอยู่และการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชนถนนยมจินดา 4) ศึกษาบทบาทของกิจกรรมถนนคนเดินยมจินดาที่มีต่อการแสดงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของ ชุมชน และ 5) ศึกษาทัศนคติที่มีต่อการจัดกิจกรรมถนนคนเดินตามแนวคิดการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวแบบทางเลือกเชิงอนุรักษ์ของคนในชุมชนถนนยมจินดา -
การสื่อสารเพื่อช่วยเหลือสังคมผ่านสื่อสังคมออนไลน์เฟซบุ๊กของมูลนิธิร่วมกตัญญูและการรับรู้ของประชาชน
สุพรรณี ดีสวัสดิ์; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้สื่อสังคมออนไลน์เฟซบุ๊กเพื่อสร้างการมี ส่วนร่วมกับแฟนเพจของมูลนิธิร่วมกตัญญู 2) ศึกษาการรับรู้ข่าวสารของแฟนเพจมูลนิธิร่วมกตัญญู 3) ศึกษาการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของแฟนเพจมูลนิธิร่วมกตัญญู 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ข่าวสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุ๊กและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของแฟนเพจ มูลนิธิร่วมกตัญญูการวิจัยเรื่องนี้ใช้วิธีดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยแบ่งออกเป็น 2กลุ่ม ได้แก่ประชาชนที่เป็นแฟนเพจมูลนิธิร่วมกตัญญูจำนวน 400 คน และฝ่ายประชาสั ... -
การสื่อสารเพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาและการสืบสานการทอผ้าพื้นเมืองของชุมชนบ้านนาป่าหนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
ภคพล รอบคอบ; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020)
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาและการสืบสานการทอผ้าพื้นเมืองของชุมชนบ้านนาป่าหนาดหมู่ 12 อำเภอเชียงคานจังหวัดเลย ศึกษาด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งประกอบด้วย การสัมภาษณ์เชิงลึก การจัดการสนทนากลุ่ม รวมถึงการสังเกตุการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ด้วยวิธีการดังกล่าวนำมาใช้เก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิซึ่งเป็นการเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญประกอบด้วย ช่างทอผ้า กลุ่มผู้สูงวัยและกลุ่มผู้ใหญ่ รวมถึงกลุ่มคนรุ่นใหม่ในชุมชน ผลการศึกษาการถ่ายทอดภูมิปัญญาพบว่า (1)ด้านผู้ส่งสาร พบว่า การสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิ ... -
ความคิดเห็นที่มีต่อพริตตี้ในการนำเสนอสินค้าและพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม
ธันย์ชนก โชติกันตะ; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการรับข่าวสารผ่านพริตตี้ของ ผู้ติดตามที่มีลักษณะประชากรแตกต่างกัน 2) ความสัมพันธ์ระหวางพฤติกรรมการรับข่าวสารของ ผู้ติดตามกบความคิดเห็นที่มีต่อการนําเสนอสินค้าของพริตตี้ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม การรับข่าวสารผานพริตตี้กับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม 4) ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเห็นที่มีต่อการนําเสนอสินค้าของพริตตี้ กับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม กลุ่มตัวอย่าง ของการวิจัยนี้ คือ ผู้ที่ติดตามพริตตี้ทั้ งเพศชายและเพศหญิง ที่มีอายุ 15 – 35 ปี ขึ้นไป จํานวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามออ ...