Now showing items 1-3 of 3

  • Thumbnail

    การประเมินความเสี่ยงด้านนิเวศพิษวิทยาจากการตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ในระบบนิเวศนาข้าว จังหวัดชัยนาท : กรณีศึกษาเป็ดไล่ทุ่ง 

    ภัทราวดี วัฒนสุนทร; จินตนา อมรสงวนสิน (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)

    จากปัญหาการใช้สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่มากเกินไปของเกษตรกรในปัจจุบันได้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของเกษตรกร รวมถึง สุขภาพของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในระบบนิเวศนั้นๆ เป็นอย่างมาก ดังนั้นผู้เขียนจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงได้ทำการศึกษาการประเมินความเสี่ยงจากการตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ในระบบนิเวศนาข้าว จังหวัดชัยนาท กรณีศึกษา เป็ดไล่ทุ่ง จึงมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาชนิดและปริมาณของการตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ในนาข้าวที่มีการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งของจังหวัดชัยนาท 2) เพื่อศึกษาเส้นทางการสัมผัสสารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ของ ...
  • Thumbnail

    การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์และแนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแบบยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศีกษา สำนักงานเขตบางแค 

    นันทญา เขียวแสวง; จินตนา อมรสงวนสิน (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแหล่งกําเนิดปริมาณของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของสํานักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร ประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรตลอดจนวิเคราะห์หาแนวทางในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกิจกรรมในองค์กรโดยใช้หลักการพัฒนาแบบยั่งยืน สําหรับใช้ในสํานักงานเขตบางแค เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามตัวแทนหน่วยงานทั้งหมด 10 หน่วยงานและการสัมภาษณ์ บุคลากรของสํานักงานเขตบางแค จํานวน 643 คน โดยการคํานวณคาร์บอนฟุตพริ้นท์เป็นค่าคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO 2 e) ที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ และก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งใช้แนวทางการป ...
  • Thumbnail

    การเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 

    วรางค์ น้อยสุขเสริม; จินตนา อมรสงวนสิน (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับความเสี่ยงของพื้นที่ต่อการเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ด้วยการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3) เพื่อศึกษาความรู้และพฤติกรรมของประชาชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขกรุงเทพมหานคร การศึกษาหาพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกในเขตกรุงเทพมหานคร พิจารณา 5 ปัจจัย ที่เกี่ยวข้อง คือ อัตราป่วยโรคด้วยไข้เลือดออก ผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก ความหนาแน่นของประชากร ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย (HI) และพื้นที่ระบาดโรคไข ...