• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

พฤติกรรมการบริโภค การเป็นหนี้ และคุณภาพชีวิต ของชาวประมงทะเล ในตาบลสิชล อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช

by เสาวณีย์ ณ นคร

Title:

พฤติกรรมการบริโภค การเป็นหนี้ และคุณภาพชีวิต ของชาวประมงทะเล ในตาบลสิชล อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช

Other title(s):

Consumption behavior, debt and quality of life of marine fishers in Sichon Sub-District, Sichon District, Nakhon Si Thammarat Province

Author(s):

เสาวณีย์ ณ นคร

Advisor:

อาแว มะแส

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การบริหารการพัฒนาสังคม

Degree department:

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2014

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคและการเป็ นหนี้ของ ชาวประมงทะเล 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตของชาวประมงทะเล และ 3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมการบริโภคและการเป็ นหนี้กับคุณภาพชีวิตของชาวประมงทะเล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การศึกษาได้มาจากการสุ่มตัวอย่างครัวเรือนชาวประมงทะเลที่อาศัยอยู่ใน 3 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านนา ลึก บ้านท้องโหนด และบ้านคอเขา ตาบลสิชล อาเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช จานวน 300 ครัวเรือน ด้วยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) ทา การรวบรวมข้อมูลทา ด้วยการ สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ทา การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ เชิงพรรณนา คือ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ และสถิติอนุมาน โดยใช้สถิติ Chi-Square ผลจากการศึกษาเป็นดังต่อไปนี้ 1. พฤติกรรมการบริโภคของชาวประมงทะเลที่สา คัญได้แก่ (1) ชาวประมงทะเลยึดเหตุผล ในการเลือกซื้อสินค้าที่ถูกย่อมเยามากที่สุด (2) สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้ามาก ที่สุด คือ ความต้องการของตนเอง และ (3) ประเภทและค่าใช้จ่ายในการบริโภครายเดือนที่พบมาก ที่สุด คือ หมวดอาหารและเครื่องดื่มทั่วไป ซึ่งมีค่าใช้จ่ายอยู่ในช่วง 4,001 – 8,000 บาท คิดเป็นร้อย ละ 41.33 2. กว่าครึ่งหนึ่งของชาวประมงทะเลไม่เคยกู้เงิน และไม่มีหนี้สินของครัวเรือนในช่วงที่ ศึกษา 3. ผลการวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิตของชาวประมงทะเล โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ พบว่า ส่วนใหญ่ชาวประมงทะเลในตาบลสิชล มีคุณภาพชีวิตปานกลาง ร้อยละ 69.33 รองลงมามี คุณภาพชีวิตที่ดี ร้อยละ 29.33 ส่วนที่มีคุณภาพชีวิตในระดับที่ไม่ดีมีเพียง ร้อยละ 1.33 4. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตโดยรวมของชาวประมงทะเลมีดังต่อไปนี้ 1) ปัจจัยด้านประชากร ได้แก่ อายุ 2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจสังคม ได้แก่ การศึกษา การประกอบอาชีพ อื่นนอกเหนือจากการประมง รายได้ และระยะเวลาในการประกอบอาชีพประมง 3) พฤติกรรมการ บริโภค ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในหมวดอาหารและเครื่องดื่มทั่วไป หมวดเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย หมวด เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า หมวดเวชภัณฑ์และค่ารักษาพยาบาล หมวดการเดินทางและการสื่อสาร หมวดการศึกษา หมวดการบันเทิงและนันทนาการ หมวดการจัดงานพิธีในโอกาสพิเศษ หมวด ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค หมวดค่าใช้จ่ายเพื่อผลตอบแทนในอนาคต หมวด ค่าใช้จ่ายในการประกอบอาชีพ และ 4) การเป็ นหนี้ ได้แก่ ภาระหนี้สินในปัจจุบัน และ ความสามารถในการชา ระหนี้ ข้อเสนอแนะสา คัญจากการศึกษามีดังนี้ 1. เนื่องจากชาวประมงส่วนหนึ่งมีปัญหาเรื่องหนี้สิน และมีผู้ที่มีปัญหาความสามารถใน การชา ระหนี้ต่า อยู่จา นวนพอสมควรและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตด้วย ภาครัฐควรจัดหาแหล่ง เงินทุนและสินเชื่อเพื่อช่วยให้ชาวประมงเหล่านี้ได้กู้ยืมอัตราดอกเบี้ยต่า เพื่อนา มาเป็ นเงินทุน หมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และใช้ในการดา รงชีวิตยามขัดสน โดยการจัดตั้งกองทุนเพื่อการ ประมงเพื่อให้สมาชิกกู้ยืม 2. รัฐควรกา หนดให้มีระบบสวัสดิการกับแรงงานประมงให้เทียบเท่ากับอาชีพอื่นๆ เพราะ แรงงานประมงมีความเสี่ยงสูงในการประกอบอาชีพ 3. หน่วยงานราชการที่เกี่ยวกับการพัฒนาชาวประมงควรรณรงค์และส่งเสริมการดาเนิน ชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ครัวเรือนชาวประมงปรับเปลี่ยนการดาเนินชีวิต โดย คา นึงถึงความสมดุลระหว่างรายได้กับรายจ่าย รวมทั้งทา กิจการเชิงเศรษฐกิจอื่นๆ ที่ส่งเสริมให้เกิด การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจมากขึ้น

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การบริหารการพัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557

Subject(s):

พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--นครศรีธรรมราช--สิชล
คุณภาพชีวิต--ไทย--นครศรีธรรมราช--สิชล

Keyword(s):

หนี้ของชาวประมงทะเล
พฤติกรรมการบริโภค
พฤติกรรมการบริโภคของชาวประมงทะเล
คุณภาพชีวิตของชาวประมงทะเล

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

174แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3109
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b185289.pdf ( 3,154.61 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSSDE: Theses [559]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×