กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของมหาวิทยาลัย : ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการตัดสินใจออมเงินผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
by ชัญฐิกา สุวรรณิน
ชื่อเรื่อง: | กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของมหาวิทยาลัย : ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการตัดสินใจออมเงินผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | The university's provident fund : Performance measurement and factors affecting for saving decision |
ผู้แต่ง: | ชัญฐิกา สุวรรณิน |
ผู้ควบคุมงานวิจัย: | ปรีชา วิจิตรธรรมรส |
ชื่อปริญญา: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
ระดับปริญญา: | Master's |
สาขาวิชา: | วิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง |
คณะ/หน่วยงาน: | คณะสถิติประยุกต์ |
หน่วยงานที่ประสาทปริญญา: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
วันที่เผยแพร่: | 2557 |
หน่วยงานที่เผยแพร่: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ: |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพของมหาวิทยาลัย และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกำรตัดสินใจออมเงินผ่านกองทุนสำรองเลี้ยง ชีพของบุคลำกรในมหำวิทยำลัยแห่งหนึ่งในเขตภำคเหนือตอนล่าง ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรของมหาวิทยำลัยแห่งหนึ่งในเขตภาคเหนือตอนล่ำง ที่ปฏิบัติงานมาไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 362 คน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้มาจาก 2 ส่วนคือ มูลค่าสินทรัพย์ต่อหน่วยสุทธิ (Net Asset Value: NAV) ระหว่างปี พ.ศ. 2550 – 2556 ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของมหาวิทยาลัย สำหรับคำนวณหาผลตอบแทนเพื่อเปรียบเทียบกับอัตราผลตอบแทนอ้ำงอิงตามดัชนีซึ่งได้แก่ ผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 6 เดือน และอายุ 2 ปี และคำนวนหาค่า Sharpe Ratio สำหรับ การศึกษาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุน นอกจากนั้นใช้แบบสอบถำมสำหรับ การศึกษำปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกำรตัดสินใจออมเงินผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของบุคลากร ผลกำรวิจัยพบว่าผลตอบแทนจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของมหาวิทยำลัย เฉพาะปี พ.ศ. 2552 ที่มีผลตอบแทนสูงกว่ำผลตอบแทนอ้างอิงตำมดัชนีที่กำหนด ส่วนการวัดประสิทธิภาพ กองทุนฯ ด้วยค่ำ Sharpe Ratio พบว่ำในปี พ.ศ. 2551 – 2552 และปี พ.ศ. 2555 – 2556 มีค่ำ Sharpe Ratio เป็นบวก ซึ่งสะท้อนถึงประสิทธิภาพในกำรบริหารจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของ มหาวิทยาลัยของบริษัทจัดการ และจากการศึกษาปัจจัยลักษณะประชากรที่มีอิทธิพลต่อการ ตัดสินใจออมเงินผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ได้แก่เพศ อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์ทำงาน ตำแหน่งงาน และรายได้ต่อเดือน ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับกองทุนด้านความพร้อมส่วนบุคคล ความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุน ความเชื่อมั่นในกองทุน และการ รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุน มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจออมเงินผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 |
รายละเอียดเพิ่มเติม: |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (วิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557 |
หัวเรื่องมาตรฐาน: | กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ--การบริหาร |
คำสำคัญ: | กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ |
ประเภททรัพยากร: | วิทยานิพนธ์ |
ความยาว: | 82 แผ่น |
ชนิดของสื่อ: | Text |
รูปแบบแฟ้มข้อมูล: | application/pdf |
ภาษา: | tha |
สิทธิในการใช้งาน: | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
สิทธิในการเข้าถึง: | สงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงภายในพื้นที่สำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์เท่านั้น |
ผู้ครอบครองสิทธิ์: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
URI: | http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3113 |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT) |
|
ดู b185767.pdf ( 2,023.07 KB ) |
This item appears in the following Collection(s) |
|
|