Browsing GSDE: Theses by Author "ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์"
Now showing items 1-3 of 3
-
ความสัมพันธ์ของการให้บริการสาธารณะกับงบประมาณจังหวัด
สุพิชชา สุขพวง; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการให้บริการสาธารณะในระดับจังหวัดทั้งราชการส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น โดยใช้ตัวแปร 12 ตัวซึ่งได้มาจากข้อมูลทางราชการ นํามา สังเคราะห์เป็นดัชนีโดยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principle Component Analysis: PCA) และ 2) นําดัชนีบริการสาธารณะมาวิเคราะห์เปรียบเทียบงบประมาณจังหวัดต่อประชากร เพื่อ สังเกตการเปลี่ยนแปลงต่อความเหลือมล้ำ โดยกาหนดให้จังหวัดเป็นหน่วยวิเคราะห์ ช่วงเวลาที่ ศึกษา 2552-2556 ผลการศึกษา จากการวิเคราะห์ความเหลื่อมล้ำของบริการสาธารณะ วัดโดยสัมประสิทธิจีนี จากดัชนีบริการสาธารณะ คือ 0.4049, ... -
ความเหลื่อมล้ำของโอกาสทางการศึกษารายจังหวัดในประเทศไทย
หัสนี อับดุลมายิส; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
บทความนี้เสนอการวิเคราะห์ความเหลื่อมล้ำ ของการศึกษาระดับจังหวัดพร้อมกับการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการไม่ได้เรียนของประชากรกลุ่มอายุ13 – 18 ปี โดยใช้ทฤษฎีทุนมนุษย์ และแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์เป็นกรอบการวิจัย ใช้ผลการสำรวจครัวเรือนของสำนักงานสถิติแห่งชาติปีพ.ศ. 2556 ซึ่งสะท้อนการไม่บรรลุเป้าหมายของดำเนินนโยบายแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ โดยแบ่งการศึกษาเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่1การวิเคราะห์ขอ้ มูลสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาที่เป็น ปัจจัยสำคัญต่อการประกอบการตัดสินใจในการพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพเพื่อยกระดับการศึกษา ระดับจังหวัด ผลสรุปสำคัญคือ อัตราการไม่ได ... -
อัตราการคงอยู่และความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
ฟาริกา กิมชัยวงศ์; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
เด็กไทยจำนวนมากไม่ได้เรียนต่อ ซึ่งสะท้อนถึงความด้อยโอกาสทางการศึกษา เนื่องจากฐานะครัวเรือนที่ยากจน การวิจัยนี้ศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์โดยใช้ผลสารวจครัวเรือนซ้ำตัวอย่างของสานักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2553 และปี พ.ศ. 2555 จา นวน 3,376 คน (อายุ 6-17 ปี ) เพื่อศึกษาอัตราคงอยู่ของนักเรียนตามระดับ และสะท้อนการไม่บรรลุเป้าหมายระดับชาติด้านการศึกษาที่ต้องการยกค่าเฉลี่ยจำนวนปีการศึกษาเป็น 12 ปี โดยแบ่งการศึกษาเป็น 2 ส่วน คือ วิเคราะห์สภาพจริงจากตัวบ่งชี้ และวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติโดยใช้แบบจำลองโลจิต (Logit Model) พบว่า การศึกษาของหัวหน้าครัวเรือน ...