Now showing items 1-1 of 1

  • Thumbnail

    การเลือกปฏิบัติและความแตกต่างของค่าจ้างระหว่างชายและหญิง : กรณีลูกจ้างเอกชนในวิชาชีพชั้นสูง 

    นวลพรรณ ไม้ทองดี; วุฒิเทพ อินทปัญญา, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010)

    การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วัดสัดส่วนของการเลือกปฏิบัติทางค่าจ้างของลูกจ้าง เอกชนที่ทำงานในวิชาชีพชั้นสูงในประเทศไทย 2) แก้ปัญหาข้อมูลมีอคติในการวิเคราะห์ความ แตกต่างของค่าจ้างระหว่างชายและหญิง และ 3) เสนอแนะแนวทางในการลดสัดส่วนการเลือก ปฏิบัติ สำหรับวิธีการวิจัยนั้น จะใช้วิธีการของ Heckman (1979) เพื่อแก้ปัญหาข้อมูลมีอคติ (Selectivity Bias) ในการประมาณการสมการค่าจ้างและวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าจ้างระหว่าง ชายและหญิง อีกทั้งยังได้ประยุกต์ใช้วิธีการแยกความแตกต่างของค่าจ้างระหว่างชายและหญิงตาม แนวคิดของ Neuman and Oaxaca (2005) ...