Browsing GSDE: Theses by Author "สรศาสตร์ สุขเจริญสิน"
Now showing items 1-4 of 4
-
การจัดการกำไรของบริษัทที่เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนในครั้งแรก (Initial Public Offering: IPO)
ญาดา กีรติพงศ์ภักดี; สรศาสตร์ สุขเจริญสิน (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
Asymmetric information occurs when insiders have more information than investors. Managers can manipulate the company’s earnings using accounting standards that allows discretionary decisions for accrual basis and makes judgments following these principles. Managers can use the discretion for earnings management to reach target income, avoid debt covenant violation and smooth income for attracting investors and receiving higher offer price. Obviously, investors are disadvantaged by the asymmetry. This paper explored factors related to earnings ... -
การศึกษาความสามารถในการแข่งขันของตลาดหลักทรัพย์ไทยในอาเซียน 5
วนิดา จรุงกิจกุล; สรศาสตร์ สุขเจริญสิน (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)
การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของตลาดหลักทรัพย์ในอาเซียน 5 2) ศึกษาความสามารถในการแข่งขันของตลาดหลักทรัพย์ไทยในอาเซียน 5 และ 3)กำหนดกลยทุธ์ในการพฒันาความสามารถในการแข่ง ขันของตลาดหลักทรัพย์ไทย -
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับราคาหลักทรัพย์ ด้วยแบบจำลอง Panel VAR
เจตรัฐ สหนันท์พร; สรศาสตร์ สุขเจริญสิน (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020)
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ ด้วย Panel VAR Approach โดยใช้อัตราส่วนทางการเงินทั้งหมด 16 อัตราส่วนที่เผยแพร่โดยตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไทย ได้แก่ อัตราส่วนหมุนเวียน (CR) อัตราส่วนหมุนเวียนเร็ว (QR) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (DE) อัตราส่วนความสามารถชำระดอกเบี้ย (INTCO) อัตรากำไรขั้นต้น (GPM) อัตรากำไรสุทธิ (NPM) อัตราผลตอบแทนสินทรัพย์ (ROA) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ROE) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (ART) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (ACP) อัตราส่วนหมุนเวียนสินทรัพย์ถาวร ... -
ประสิทธิภาพของกองทุนรวมในประชาคมเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ยุพวดี ชินพฤทธิวงศ์; สรศาสตร์ สุขเจริญสิน (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
บทความนี้ศึกษาการวัดประสิทธิภาพของกองทุนรวมในประชาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับนี้ได้นำใช้วิธีการวัดประสิทธิภาพกองทุนรวมจากวิธี Data Envelopment Analysis (DEA) แทนการวัดประสิทธิภาพแบบดั้งเดิม (Traditional Index) โดยนำสัดส่วนค่าใช้จ่ายของกองทุนรวมต่อสินทรัพย์สุทธิมาพิจารณาการวัดประสิทธิภาพของกองทุนรวมด้วย ซึ่งจากผลการศึกษา แสดงให้เห็นว่า กองทุนรวมในประเทศสิงคโปร์เป็นกองทุนรวมที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด โดยที่มีกองทุนรวมจากประเทศมาเลเซียและประเทศไทยมีระดับประสิทธิภาพที่รองลงมาสลับกันไปในแต่ละปี และเมื่อพิจารณาประเภทของกองทุนรวมในแต่ละประเทศ พบว่า ...